Page 10 - งานสัตว์ป่า ณัฐกฤตา
P. 10
ควำยป่ำ
เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยำศำสตร์ว่ำ Bubalus arnee มีลักษณะคล้ำยควำย
บ้ำน (B. bubalis) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ควำยป่ำแต่มีล ำตัวขนำดล ำตัวใหญ่กว่ำ มีนิสัย
ว่องไวและดุร้ำยกว่ำควำยบ้ำนมำก สีล ำตัวโดยทั่วไปเป็นสีเทำหรือสีน้ ำตำลด ำ ขำทั้ง 4 สีขำวแก่
หรือสีเทำคล้ำยใส่ถุงเท้ำสีขำว ด้ำนล่ำงของล ำตัวเป็นลำยสีขำวรูปตัววี (V) ควำยป่ำมีเขำทั้ง 2
เพศ เขำมีขนำดใหญ่กว่ำควำยบ้ำนมำก วงเขำกำงออกกว้ำงโค้งไปทำงด้ำนหลัง ด้ำนตัดขวำงเป็น
รูปสำมเหลี่ยม ปลำยเขำเรียวแหลม ตัวโตเต็มวัยมีควำมสูงที่ไหล่เกือบ 2 เมตร ควำมยำวหัวและ
ล ำตัว 2.40–2.80 เมตร ควำมยำวหำง 60–85 เซนติเมตร น้ ำหนักมำกกว่ำ 1,000 กิโลกรัม
มีกำรกระจำยพันธุ์จำกประเทศเนปำลและอินเดีย ไปสิ้นสุดทำงด้ำนทิศตะวันออกที่ประเทศ
เวียดนำม ในประเทศไทยในอดีตเคยมีอยู่มำกและกระจัดกระจำยออกไป โดยพบมำกที่บ้ำนลำน
ควำย หรือบ้ำนลำนกระบือ (ปัจจุบัน คือ อ ำเภอลำนกระบือ จังหวัดก ำแพงเพชร) แต่สถำนะใน
ปัจจุบันเหลืออยู่แค่ในเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง จังหวัดอุทัยธำนี เท่ำนั้น ประชำกรใน
ปัจจุบันมีประมำณ 3,400 ตัว ในจ ำนวนนี้มี 3,100 ตัว (91%) อำศัยอยู่ในประเทศอินเดีย
โดยเฉพำะในรัฐอัสสัม[2] และมีควำมเป็นไปได้มำกที่สุดว่ำควำมป่ำเป็นบรรพบุรุษของควำยบ้ำน[
หำกินในเวลำเช้ำและเวลำเย็น อำหำรได้แก่ พวกใบไม้ หญ้ำ และหน่อไม้ หลังจำกกินอำหำรอิ่ม
แล้ว ควำยป่ำจะนอนเคี้ยวเอื้องตำมพุ่มไม้ หรือนอนแช่ปลักโคลนตอนช่วงกลำงวัน ควำยป่ำจะอยู่
ร่วมกันเป็นฝูง ฤดูผสมพันธุ์อยู่รำว ๆ เดือนตุลำคมและพฤศจิกำยน ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้อง
นำน 10 เดือน ควำยป่ำมีนิสัยดุร้ำยโดยเฉพำะตัวผู้และตัวเมียที่มีลูกอ่อน เมื่อพบศัตรูจะตีวงเข้ำ
ป้องกันลูกอ่อนเอำไว้ มีอำยุยืนประมำณ 20–25 ปี โดยควำยป่ำมักตกเป็นอำหำรของสัตว์กิน
เนื้อ โดยเฉพำะเสือโคร่ง ในอินเดีย ควำยป่ำมักอำศัยอยู่ร่วมในพื้นที่เดียวกับแรดอินเดีย ซึ่งเป็น
สัตว์ดุร้ำย แม้จะเป็นสัตว์กินพืชเหมือนกัน แต่ก็มักถูกแรดอินเดียท ำร้ำยอยู่เสมอ ๆ จนเป็น
บำดแผลปรำกฏตำมร่ำงกำย
สถำนภำพในประเทศไทย ปัจจุบันเป็นสัตว์ป่ำสงวนตำมพระรำชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์
ป่ำแห่งชำติ