Page 7 - บทที่ 2
P. 7

เหล่านี้ โดยเฉพาะกับกลุ่มวัยรุ่นที่ใช้เวลาไปกับสื่อออนไลน์วันละ หลายชั่วโมง จนอาจน าไปสู่ความ
                       ขัดแย้ง ทะเลาะวิวาท จนถึงขั้นท าร้ายร่างกายตามมา

                              จากผลการวิจัยหัวข้อ “เหวี่ยง’ และ ‘วีน’ ออนไลน์… ความขัดแย้งและการวิวาทในสื่อสังคม
                       ของวัยรุ่น” ของผศ.ดร.ภูเบศร์ สมุทรจักร อาจารย์ประจ าสถาบันวิจัยประชากรและสังคม

                       มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า ความขัดแย้งในกลุ่มวัยรุ่นส่วนใหญ่เป็นประเด็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ใน

                            ื่
                                              ่
                       กลุ่มเพอนและคนรัก การแขงขันในการเรียน และสถานภาพทางสังคม
                                       ี
                              “การที่ไม่มตัวตน หรือมีตัวตนซ่อนเร้นในโลกออนไลน์ ท าให้คนมีอิสระในการแสดงความ
                       คิดเห็นหรือแสดง ‘ความแรง’ ออกมาในสังคมมากขึ้น โดยเฉพาะในสังคมวัยรุ่นสมัยนี้ที่มีการสื่อสาร
                                                                                     ู
                                                                       ์
                       ห้วนขึ้น สั้นขึ้น แรงขึ้น หรือวัฒนธรรมแบบสามค าสี่พยางค อย่างเวลาที่เราพดห้วนๆ จะมีความแรง
                       อยู่ด้วย ซึ่งจะน าไปสู่การวิวาทง่ายขึ้น” ผศ.ดร. ภูเบศร์ กล่าวและว่า การทะเลาะวิวาท ในสังคม

                       ออนไลน์มีหลายกรณี เช่น “ทะเลาะในเฟซบุ๊กแล้วไปต่อในไลน์ หรือ ทะเลาะในไลน์แล้วไปต่อในต่อ
                       ในเฟซบุ๊ก แล้วออกมาเคลียร์กันตัวต่อตัว” จากความรุนแรงทางความสัมพันธ์ในการสื่อสาร กลายเป็น

                       ความรุนแรงทางกายภาพด้านนายแพทย์อภิชาต จริยาวิลาศ จิตแพทย์โรงพยาบาลศรีธัญญา กรม

                       สุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ให้ค าแนะน าว่า เพื่อป้องกนปัญหาที่ตามมา ควรระวังบุคคลที่จะ
                                                                       ั
                       สื่อสารด้วย เพราะอาจมีอาชญากรรมแฟงตัว และไม่ควรหมกมุ่นในการสื่อมากเกินไป

                              อย่างไรก็ตาม สิ่งที่เราสามารถท าได้ในการป้องกันภัยที่มาจากสื่อสังคมออนไลน์ ก็คือการ
                       รู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) โดยต้องเข้าใจสภาพของสื่อออนไลน์ว่าเป็นสังคมที่มีทั้งพนที่ส่วนตัว
                                                                                              ื้
                       และพื้นที่สาธารณะ เรียนรู้การสื่อสารและการมีปฏิสัมพันธ์บนโลกออนไลน์กับชีวิตจริงว่า ความ

                       รอบคอบและมีสติทุกครั้งในการสื่อสารและแสดงความคิดเห็นต่างๆ บนโลกออนไลน์ คือวิธีป้องกันภัย
                       ร้ายได้อย่างดี
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12