Page 44 - เล่มโปรเจค
P. 44

31


                                 ดังนั้น การออกแบบระบบที่ต้องการเสถียรภาพในการตัดวงจรค่อนข้างสูง จึงมักมีการนำเอา
                       ฟิวส์มาต่อร่วมกับเบรคเกอร์ โดยให้เบรกเกอร์ทำการตัดวงจรก่อน (ค่ากระแสพิกัดต่ำ) แต่ถ้าเบรค

                                                                                                        ี
                       เกอร์ไม่ตัด ฟิวส์จะทำหน้าที่ตัดวงจรเอง (ค่ากระแสพิกัดสูง) หรือระบบที่ใช้ฟิวส์เป็นตัวตัดวงจรเพยง
                       ตัวเดียว บางทีอาจจะมีการต่อเบรคเกอร์ไว้ด้วย เพื่อประโยชน์ในการตัดวงจรขณะตรวจสอบหรือ
                       บำรุงรักษา (มอเตอร์มักไม่ใช้ฟิวส์ แต่จะใช้เบรกเกอร์คู่กับ Overload Relay ในการตัดวงจรออกจาก

                                                                                                    ุ
                               ้
                       ระบบไฟฟา เนื่องจากมอเตอร์เป็นอปกรณ์ที่มักเกิดกระแสเกินชั่วขณะเมื่อสตาร์ท จึงต้องการอปกรณ์
                                                    ุ
                       ป้องกันที่ตัดวงจรช้า โดยจะตัดวงจรเมื่อเกิดกระแสเกิน ดังนั้นอุปกรณ์ที่ตัดวงจรจะเป็น Overload
                       Relay และเบรคเกอร์ซึ่งจะเป็นตัว Back Up เพื่อตัดระบบไฟฟาออกสำหรับการบำรุงรักษาตู้ควบคุม
                                                                           ้
                       ไฟฟ้าหรือเพื่อการตรวจเช็คเท่านั้น)





















                                                  รูปที่ 2.31 เบรกเกอร์และฟิวส์ [9]


                              2.8.2 ประเภทของฟิวส์ (Type of Fuses)

                                     2.8.2.1 ฟิวส์หน่วงเวลา (Time-Delay Fuses) : ฟิวส์ประเภทนี้จะหน่วงเวลาขณะที่
                       มีกระแส Overload ขนาดเล็ก เพื่อป้องกันการขาดของฟิวส์ที่ไม่จำเป็นสำหรับกระแส Temporary

                       Overload บางประเภท เช่น Motor Start-Ups หรือ Switching Surges บางครั้งเรียกฟิวส์ชนิดนี้ว่า
                       Dual-Element Fuses โดยลักษณะของฟิวส์หน่วงเวลา แสดงได้ดังรูปที่ 2.32
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49