Page 38 - กระทรวงยุติธรรม
P. 38
38 รายงานผลการดำาเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
เป้าหมายที่ 16 สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก ประจำาปี 2563
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
�
�
การดาเนินโครงการบาบัดแก้ไข ฟื้นฟูเด็กและ
เยาวชนเฉพาะรายแบบไร้รอยต่อ Individual Routing
ี
Counselor (IRC) ท่มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา
และความจาเป็นของเด็กและเยาวชนแต่ละราย
�
เพ่อให้เด็กและเยาวชนมีความพร้อมใน 5 ด้าน ประกอบ
ื
ด้วย ด้านท่อยู่อาศัย ด้านการศึกษาหรือการประกอบอาชีพ
ี
ื
ด้านสัมพันธภาพครอบครัวและชุมชนด้านการคบเพ่อน และ
ั
ด้านการใช้เวลาว่าง พร้อมสนบสนนให้ครอบครว ชมชน
ุ
ั
ุ
ี
�
ึ
ู
ั
และสังคมเข้ามามส่วนร่วมในการบาบดแก้ไขฟื้นฟ รวมถง
ประสานความร่วมมือจาก ทุกภาคส่วนท่เก่ยวข้องเพ่อลด
ี
ี
ื
�
ี
ความเส่ยงต่อการมีปัญหาด้านพฤติกรรมและลดการกระทา
ผิดซ�้า ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีเด็กและเยาวชนที่อยู่
�
ในระบบบาบัดแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชนเฉพาะรายแบบไร้
รอยต่อได้รับการปล่อยตัว (ณ กันยายน 2563) จ�านวน 294
คน ซ่งอยู่ระหว่างติดตามภายหลังปล่อยภายในเวลา 1 ปี
ึ
ทุกราย จากการติดตามพบว่า เด็กและเยาวชนสามารถใช้ชีวิต
เป็นปกติสุขและไม่พบการกระท�าผิดซ�้า จ�านวน 265 คน (คิด
เป็นร้อยละ 90.14) และพบว่ากระท�าความผิดซ�้า จ�านวน 29
คน (คิดเป็นร้อยละ 9.86)
กระทรวงยุติธรรม มีนโยบายในการลดปัญหาคนล้นคุก ลดความแออัดของผู้ต้องขังในเรือนจาและเพ่ม
�
ิ
ประสิทธิภาพในการดูแลผู้กระทาผิดโดยการนามาตรการทางเลือกแทนการลงโทษจาคุกมาใช้ โดยกรมคุม
�
�
�
�
�
ี
ประพฤติในฐานะหน่วยงานท่มีหน้าท่ในการบังคับใช้กฎหมายและแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทาผิดในชุมชนจึงได้จัดทา
ี
“โครงการนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว มาใช้เป็นมาตรการทางเลือกแทนการจาคุก” เพ่อรองรับนโยบาย
�
�
ื
ื
ดังกล่าวโดยผูกพันงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 2565 เพ่อเช่าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว
ื
�
ี
(Electronic Monitoring : EM) พร้อมระบบท่เก่ยวข้อง จานวน 30,000 เคร่อง ระยะเวลา 30 เดือน
ี
่
ื
โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีลงมติเห็นชอบตามความเห็นของสานักงบประมาณเม่อวันท 30
ี
�
ิ
ึ
ี
�
�
มีนาคม 2563 และนามาใช้กับผู้กระทาผิดท่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมคุมประพฤต ซ่งประกอบด้วย
1) ผู้ถูกคุมความประพฤติตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 56 2) นักโทษเด็ดขาดที่ได้รับการพักการลงโทษ
�
�
จาคุกและนักโทษเด็ดขาดท่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคก และ 3) ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ยาเสพติดตาม
ี
ุ
พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 ซ่งเป็นการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว
ึ
ื
ั
ในระหว่างการปล่อยตัวช่วคราวระหว่างรอการตรวจพิสูจน์ เพ่อบริหารจัดการการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์