Page 12 - การพัฒานาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องวิวัฒนาการภาษาของคอมพิวเตอร์
P. 12

หน่วยที�1 ภาษาคอมพิวเตอร์เบื�องต้น                8                                                                    หน่วยที�1 ภาษาคอมพิวเตอร์เบื�องต้น                9


        ...........................................................................................................................................................  ..........................................................................................................................................................


        4.ตัวแปลภาษา                                                                                                          5.ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม



        ------------------------------------------------------------------                                                    -----------------------------------------------------------------

              การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาใดก็ตาม จะต้องมีตัวแปลภาษาเพื่อแปลโปรแกรมที่                                             การพัฒนาโปรแกรมมี 6 ขั้นตอน ดังนี้


        เขียนขึ้น ให้เป็นภาษาเครื่อง จึงจะใช้งานได้ เพราะคอมพิวเตอร์รับรู้เฉพาะภาษาเครื่อง                                       1. การวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ (Problem Analysis and user Re-

        ได้เพียงภาษาเดียวเท่านั้น                                                                                             quirement) นักเขียนโปรแกรมจะได้รับมอบหมายจากนักวิเคราะห์ระบบให้พัฒนา

         ตัวแปลภาษามี 2 ประเภท คือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเทอร์พรีเตอร์ (Inter-                                          โปรแกรม ซึ่งจะต้องเขียนโปรแกรมตามความต้องการของผู้ใช้ นักเขียนต้องทำาความ

        preter)                                                                                                               เข้าใจปัญหา ศึกษาและสอบถามความต้องการของผู้ใช้อย่างละเอียด และต้องให้ผู้ใช้


          1)  คอมไพเลอร์ (Compiler) จะทำาการแปลชุดคำาสั่งทุกคำาสั่งที่เขียนขึ้นจากโปรแกรม                                     ยืนยันว่า นักเขียนโปรแกรมเข้าใจปัญหาและความต้องการถูกต้องดีแล้ว

        ภาษาใด ๆ ทั้งหมด ให้เป็นแฟ้มชุดคำาสั่งภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงสามารถนำาแฟ้ม

        ภาษาเครื่องนั้น ไปสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำางาน โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาใด ๆ เรียก                                                    ตัวอย่าง การวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของผู้ใช้


        ว่า โปรแกรมต้นฉบับ (Source Program) เมื่อแปลโดยตัวแปลภาษาแล้ว จะได้ผลเป็น                                                       การเขียนโปรแกรมคํานวณหาพื�นที�สามเหลี�ยม

        โปรแกรมภาษาเครื่อง เรียกว่า โปรแกรมจุดหมาย (Object Program) ดังภาพ                                                              การวิเคราะห์

                                                                                                                                        - ต้องทราบว่าใช้สูตรอะไรได้บ้าง















                        ตัวแปลโปรแกรมภาษาต่าง ๆ มีจะมีชื่อเรียกตามภาษานั้น เช่น

                                Assembler                 ตัวแปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี


                                C Compiler                ตัวแปลโปรแกรมภาษาซี

                               COBOL Compile          ตัวแปลโปรแกรมภาษาโคบอล





           2)อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) จะแปลโปรแกรมต้นทางทีละคำาสั่ง ให้เป็นคำาสั่ง

        ภาษาเครื่อง แล้วทำางานตามคำาสั่งนั้นเลย เมื่อทำางานตามคำาสั่งนั้นเสร็จแล้ว ก็จะ

        ทำาการแปลคำาสั่งต่อไปอีกเรื่อย ๆ จนจบโปรแกรม
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17