Page 3 - เล่มการต่อตัวต้านทาน
P. 3
จากรูป ก. เราทราบว่า = +
2
1
1 2
จากกฎของโอห์ม จะได้ = +
1 2
เมื่อ คือความต้านทานสมมูลของ และ ที่ต่อแบบอนุกรม ดังรูป ข.
2
1
เนื่องจาก = =
2
1
1 1 1
ดังนั้น = +
1 2
ถ้าต่อตัวต้านทาน ตัว แบบอนุกรม จะได้ความต้านทานสมมูล ดังนี้
1 1 1 1 1
= + + + … +
1 2 3
ในการนำตัวต้านทานมาต่อกัน ความต้านทานสมมูลในกรณีต่อแบบอนุกรมจะมากกว่าความต้านทาน
สมมูลกรณีต่อแบบขนาน จึงทำให้กระแสไฟฟ้าในวงจรที่ต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมมีค่าน้อยกว่ากระแสไฟฟ้า
ั
ในวงจรที่ต่อตัวต้านทานแบบขนาน (เมื่อแต่ละวงจรต่อกบแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าค่าเดียวกัน)
ความรู้ข้างต้น ช่วยให้เราสามารถเลือกตัวต้านทานหนึ่งตัว หรือมากกว่ามาต่อกัน เพื่อให้ได้ความ
ต้านทานสมมูลที่ต้องการ ซึ่งนอกจากจะต่อแบบอนุกรมหรือแบบขนานแล้ว ยังอาจนำการต่อทั้งสองแบบมา
ผสมกันได้อีก เรียกว่า การต่อแบบผสม (Compound)
การต่อตัวต้านทานแบบผสม
คือการนำการต่อแบบอนุกรมและขนานมารวมกันภายในวงจรเดียวกัน โดยการหาค่าความต้านทาน
รวมต้องค่อย ๆ หาที่ละส่วน แล้วทำการยุบวงจร และนำมาคิดรวมกันอีกทตอนสุดท้าย
ี