Page 199 - As1 Muang Thai Rider 1 (สุขภาพ)
P. 199
Elite Health Plus
่
้
ี่
ี้
่
ิ
์
: กรณีผ่าคลอดทมีขอบงชทางการแพทย มีเงื่อนไขในการพจารณาอยางไร
การผ่าคลอดทมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ เป็นการผ่าตัดคลอดฉุกเฉิน ซึ่งควรมีข้อบ่งชี้ดังต่อไปนี้ แต่ทงนี้ขึ้นกับความพร้อมของ
ี่
ั้
บุคลากรและเครื่องมือของแต่ละโรงพยาบาล เช่น
้
• มีภาวะผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะทารกและอุ้งเชิงกราน (Cephalopelvic Disproportion: CPD) ท าใหเด็กไม่สามารถ
่
ลอดผ่านเชิงกรานแมออกมาได ้
• มีความผิดปกติของรก เช่น รกเกาะต ่าขวางทางออกของทารก (Placenta Previa) หรือรกลอกตัวก่อนก าหนด
้
(Placental Abruption) ท าใหมีการตกเลือดก่อนคลอด
ื
ี่
• มีภาวะแทรกซ้อนทต้องทาให้คลอดโดยเร็ว เช่น สายสะดอย้อย (Umbilical Cord Prolapsed)
็
ั
• ทารกอยู่ในภาวะวิกฤติ เสียงหัวใจลูกเต้นช้าผิดปกติ (Fetal Distress) ภาวะความดนโลหิตสูง ครรภ์เปนพิษอย่างรุนแรง
หรือมการแตกของมดลูก (Uterine Rupture)
ี
ี่
• มีการคลอดทเนิ่นนาน (Prolong of Labor) หรือประสบความล้มเหลวจากการชักน าคลอด (Failure Induction)
์
่
• ทารกอยู่ในทาผิดปกติ เช่น ท่าขวาง (Transverse Lie) ท่าก้น (Breech Presentation) หรือครรภแฝด
• มารดาเคยผ่าตัดคลอดมาก่อน (Previous Uterine Scare) ซึ่งเสี่ยงต่อการแตกของมดลูกหากมีการคลอดเองเกิดขึ้น
ี่
• การติดเชื้อของมารดา เช่น มารดาเป็นโรคเริมทอวัยวะเพศขณะเข้าสู่ระยะคลอด ซึ่งสามารถติดต่อสู่ลูกน้อยผ่านการ
คลอดทางช่องคลอด
ู
อ้างอิงข้อมลจาก (https://www.bangkokhospital.com/content/cesarean-section-vs-normal-labor)
ี่
กรณีดังกล่าวต้องไม่ใช่ Elective Caesar การผ่าตัดทมการวางแผนไว้ล่วงหน้า เช่น ผ่าตามก าหนดฤกษ์ยาม ผ่าเพื่อความ
ี
สะดวกสบาย