Page 15 - การบูรณาการคุณค่าพระวรสาร
P. 15
6. หลักฐาน/ผลปฏิบัติ : ชิ้นงาน/ภาระงาน/ทดสอบย่อย
1) แบบฝึกหัด
2) กิจกรรมกลุ่ม
2) ใบงาน
3) แบบทดสอบ
7. แนวทางการประเมิน
หลักฐาน/ผลการปฏิบัติ วิธีการประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
1. แบบฝึกหัด - ประเมินตามสภาพจริง แบบประเมิน ดีมาก, ดี, พอใช้, ปรับปรุง
2. กิจกรรมกลุ่ม - ประเมินตามสภาพจริง แบบประเมิน ดีมาก, ดี, พอใช้, ปรับปรุง
3. ใบงาน - ประเมินตามสภาพจริง แบบประเมิน ดีมาก, ดี, พอใช้, ปรับปรุง
4. แบบทดสอบ - ประเมินตามสภาพจริง แบบทดสอบ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60
8. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 9. สื่อการเรียนรู้ / 10. การวัดและประเมิน
แหล่งการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ / หมายเหตุ
สัปดาห์ที่ 10
ขั้นการรวบรวมข้อมูล -หนังสือเรียน -สังเกตจากพฤติกรรมการ
1. นักเรียนร่วมกันบอกความหมายเอกนามพร้อม คณิตศาสตร์ ชั้น ม.2 ตอบค าถามและการแสดง
ยกตัวอย่าง (คุณค่าพระวรสาร ข้อที่ 3 การไตร่ตรอง) เล่ม 1 ความคิดเห็นในชั้นเรียน
2. นักเรียนส่งตัวแทนออกมาเขียนเอกนามตามความเข้าใจ -แบบฝึกหัด - การตอบค าถามในใบ
ของนักเรียนจ านวน 5 คน จากนั้นร่วมกันทบทวนการหา กิจกรรม
สัมประสิทธิ์ของเอกนามและดีกรี(พิจารณาความถูกต้องของ
โจทย์เอง)
ขั้นการคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
1. นักเรียนร่วมกันพิจารณา บัตรค าต่อไปนี้
2
2
5 , 3 , 2X , 3X , 5 a b , 2 ba , 10 xyz , -9xyz
-1
-1
2xy , 5xy และส่งตัวแทนออกมาหยิบคนละใบ จากนั้น
บอกว่ามีอะไรที่เหมือนกันหรือต่างกัน(ตัวแปรเหมือนกัน
ตัวเลขต่างกัน ) และร่วมกันอภิปรายจนได้วาตัวอย่างที่ยกมา
่
เรียกว่าเอกนามที่คล้ายกัน
เอกนามสองเอกนามคล้ายกันก็ต่อเมื่อ
1. เอกนามทั้งสองมีตัวแปรชุดเดียวกัน
และ 2. เลขชี้ก าลังของตวแปรตัวเดียวกันในแต่ละเอก
ั