Page 28 - 2. รายงานสถานการณ์คุณภาพน้ำผิวดิน สคพ.4 _2565
P. 28
24
ตารางที่ 4.1 บริเวณที่มีปัญหาคุณภาพน้ำเสื่อมโทรม ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาคุณภาพน้ำเสื่อมโทรม (ต่อ)
แหล่งน้ำผิวดิน บริเวณที่มีปัญหา และสาเหตุปัญหา ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา
คุณภาพน้ำเสื่อมโทรม
แม่น้ำยม 1. จุดตรวจวัด YO02 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ควรมี
2. จุดตรวจวัด YO03 ระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน รวมทั้งควรมี
3. จุดตรวจวัด YO0.5 การติดตามตรวจสอบการจัดการสิ่งปฏิกูล
เนื่องจากสภาพโดยธรรมชาติของแม่น้ำยม มูลฝอย การประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อ
มีปริมาณน้ำค่อนข้างน้อย การไหลของน้ำ สุขภาพ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการประกอบ
ค่อนข้างช้า อีกทั้งบริเวณโดยรอบแม่น้ำยม กิจการปศุสัตว์ที่ก่อให้เกิดน้ำเสีย เพื่อตรวจสอบ
ตลอดลำน้ำเป็นพื้นที่ชุมชนสลับกับพื้นที่ การบำบัดและกำจัด และการบังคับใช้กฎหมาย
เกษตรกรรม โดยในบริเวณที่เป็นพื้นที่ชุมชนจะ 2. ส่งเสริมและรณรงค์การจัดการน้ำเสีย ณ
ั
มีการประกอบกิจการประเภทโรงแรม ที่พก แหล่งกำเนิด เช่น การส่งเสริมการติดตั้งถังดัก
ร้านค้า ร้านอาหาร บ้านเรือนประชาชน และ ไขมันจากบ้านเรือนประชาชน การสนับสนุน
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ตั้งอยู่บริเวณใกล้เคียงจุด และผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออก
ตรวจวัดเป็นจำนวนมาก ซึ่งอาจเป็นจุดเสี่ยงที่ ข้อบัญญัติให้ร้านอาหาร ตลาดสด ศูนย์อาหาร
ต้องรองรับน้ำเสียที่เกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ มีการติดตั้งบ่อดักไขมันหรือระบบบำบัดน้ำเสีย
รวมทั้งต้องรองรับน้ำที่เกิดจากภาคเกษตรกรรม แบบติดกับท ี่
และต้องรองรับน้ำที่เกิดจากการท่วมขังจาก 4. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เข้มงวดการ
ภาคเกษตรกรรมในช่วงเดือนตุลาคมจนถึงเดือน บังคับใช้กฎหมายกับกิจการที่เป็นอันตรายต่อ
พฤศจิกายนของทุกปี ซึ่งเป็นการเพิ่มปริมาณ สุขภาพ ตามพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ.
ความสกปรกในรูปแบบสารอินทรีย์ให้กับลำน้ำ 2535 และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง
ดำเนินการติดตามและตรวจสอบแหล่งกำเนิด
มลพิษและเข้มงวดในการบังคับใช้กฎหมาย
5. ในพื้นที่ที่ประสบปัญหาน้ำท่วมขัง ควรมีการ
บำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ชนิดก้อนหรือ
ชนิดน้ำ เพื่อเป็นการลดค่าความสกปรกใน
รูปแบบสารอินทรีย์เบื้องต้นก่อนที่น้ำจะไหลลง
สู่แหล่งน้ำ
แม่น้ำน่าน 1. จุดตรวจวัด NA0.1 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่
2. จุดตรวจวัด NA01 หรือมีปริมาณประชากรตั้งแต่ 5,000 คนขึ้นไป
3. จุดตรวจวัด NA1.1 ควรขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากแหล่ง
4. จุดตรวจวัด NA03 ต่าง ๆ เพื่อก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียแบบ
5. จุดตรวจวัด NA04 ติดกับที่ (On-Site Treatment) ซึ่งเป็นการลด
บริเวณที่พบปัญหาคุณภาพน้ำเป็นช่วงแม่น้ำ ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ที่ปล่อย
น่านที่ไหลผ่านพื้นที่ชุมชนค่อนข้าหนาแน่น และมี ระบายลงสู่แหล่งน้ำ
แหล่งกำเนิดน้ำเสียตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงจำนวน 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรมีการติดตาม
มาก อาทิเช่น โรงงานอุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยง ตรวจสอบ บังคับใช้กฎหมาย และการจัดการสิ่ง
สัตว์น้ำ การปศุสัตว์ ห้างสรรพสินค้า โรงแรม ปฏิกูลมูลฝอย จากการประกอบกิจการที่เป็น
ี
รายงานสถานการณ์คุณภาพน ้าแหล่งน ้าผิวดิน ประจ าปงบประมาณ พ.ศ. 2565
ส ำนักงำนสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 4 (นครสวรรค์)