Page 91 - การวจยทางการศกษา v.7_Neat
P. 91

14. ภำคผนวก (appendix)

                 สิ่งที่นิยมเอาไว้ที่ภาคผนวก เช่น แบบสอบถาม แบบฟอร์มในการเก็บหรือบันทึกข้อมูล
               เมื่อภาคผนวก มีหลายภาค ให้ใช้เป็น ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ฯลฯ แต่ละภาคผนวก ให้

               ขึ้นหน้าใหม่

               15. ประวัติของผู้ด ำเนินกำรวิจัย (biography)
                 ประวัติของผู้วิจัย เป็นข้อมูลที่ผู้ให้ทุนวิจัยมักจะใช้ประกอบการพิจารณาให้ทุนวิจัย ซึ่ง

               ถ้ามีผู้วิจัยหลายคนก็ต้องมีประวัติของผู้วิจัยที่อยู่ในต าแหน่งส าคัญๆ ทุกคนซึ่งต้องระบุว่า
               ใครเป็นหัวหน้าโครงการ ใครเป็นผู้ร่วมโครงการในต าแหน่งใด และใครเป็นที่ปรึกษา

               โครงการ

                 ประวัติผู้ด าเนินการวิจัย ควรประกอบด้วยประวัติส่วนตัว (เช่น อายุ เพศ การศึกษา)
               ประวัติการท างาน และผลงานทางวิชาการต่างๆ


               8.2 หลักกำรเขียนรำยงำนกำรวิจัย

               1. กำรเขียนชื่อเรื่องงำนวิจัย
                      1.    กะทัดรัด  มีความชัดเจนในตัวเอง

                      2.    เห็นลักษณะของตัวแปร  กลุ่มตัวอย่าง  และขอบเขตของการวิจัย

                      3.    ภาษาที่ใช้ต้องเป็นภาษาที่เชื่อถือได้ในวิชาชีพนั้น ๆ
                      4.    เป็นประโยคที่สมบูรณ์  ข้อความ หรือวลีก็ได้


               2. กำรเขียนควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของกำรวิจัย

                      1.  แนวในการเขียนแบ่งเป็น  3  ส่วน  คือ

                          1.1   เริ่มจากจากสภาพปัจจุบันของสิ่งที่จะวิจัย

                          1.2   ปัญหาที่เกิดขึ้นส าหรับสิ่งที่จะวิจัย
                          1.3   แนวทาง หรือ หลักการที่จะแก้ปัญหานั้น

                      2.  ตรงประเด็น และชี้ให้เห็นความส าคัญของสิ่งที่จะวิจัย  ไม่ควรเขียนเยิ่นเย้อ
                          และนอกเรื่อง  เพราะจะท าให้ผู้อ่านไขว้เขวได้

                      3.  มีข้อมูลอ้างอิง  เพื่อความน่าเชื่อถือ   การมีข้อมูลอ้างอิงจะท าให้งานวิจัยมี

                          คุณค่า  และบางครั้งท าให้การเขียนมีความสละสลวย   มีเหตุมีผล
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96