Page 4 - บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
P. 4

4


               สองชองที่อยูติดกัน เมื่อชองแตละชองเปนแหลงกำเนิดแสง โดยใชเหตุผลเดียวกันกับที่เคยใชสำหรับการแทรกสอด

               ของสลิตคู



















                                                            ก. เสริมกันที่ P



























                                      ข. P อยูไกลมากจนแสงที่ออกจากชองตาง ๆ อาจถือไดวาขนานกัน

                            รูปที่ 56 แสงทผานเกรตติงจะเลี้ยวเบนและแทรกสอดแบบเสริมกันที่ตำแหนง P
                                         ี่
               จากรูปที่ 56 พิจารณาตำแหนง P ซึ่งเปนแถบสวางที่ 1 ระยะทางที่แสงจากชองแตละชองของเกรตติงถึงตำแหนง

                                                                                         ี่
                                                               ึ
                                                 ี่
                                                                                                        ั
               P จะไมเทากัน ผลตางระหวางระยะทางทแสงเคลื่อนที่ไปถงตำแหนง P จากชองสองชองทอยูถัดกัน เชน A กบ B
                                                                         
               หรือ B กบ C จะเทากับ                      เมื่อ      คือระยะหางระหวางชอง ถาที่ตำแหนง P เปนตำแหนงทเกิดแถบสวาง
                       ั
                                                                                                 ี่
               ที่ n ผลตางของระยะทางดังกลาวจะเทากับ         
                       ดังนั้นสรุปเงื่อนไขสำหรับแถบสวางที่ตำแหนงใด ๆ ไดเปน                      =          เมื่อ      = 0, 1, 2, ...
                                                                  
               จากสมการนี้จะเห็นไดวาถาใหแสงทมีความยาวคลื่นตางกันผานเกรตติง แถบสวางของแสงแตละความยาวคลื่นจะ
                                             ี่
               เกิดที่ตำแหนงตางกัน
   1   2   3   4   5