Page 7 - สารสนเทศ 2567
P. 7
ส่วนที่ 2
สภาพทั่วไปของจังหวัดปราจีนบุรี
2.1 ประวัติความเป็นมา
จังหวัดปราจีนบุรี เคยเป็นดินแดนที่มีความเจริญรุ่งเรื่องมายาวนาน ดังปรากฏการตั้งถิ่นฐาน
ของชุมชนสมัยโบราณเมื่อประมาณ 2,000 - 2,500 ปีที่แหล่งโบราณคดีบ้านกระทุ่มแพ้ว ตำบลกระทุ่มแพ้ว อำเภอ
บ้านสร้าง บ้านหนองอ้อ ตำบลดงพระราม อำเภอเมืองปราจีนบุรี และบ้านดุงชัยมัน ตำบลประจันตคาม อำเภอ
ประจันตคาม โบราณวัตถุที่พบ ได้แก่ ลูกปัดแก้วแบบอินโด - แปซิฟิก สต่าง ๆ ลูกปัดหิน คาร์เนเลียน หินอะเกต
ี
้
และหินควอตซ์ เครื่องมือเหล็ก ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการติดต่อสัมพันธ์กับชุมชนโบราณใกลเคยงและอินเดยโดยเฉพาะท ี่
ี
ี
บ้านดงชัยมัน ได้พบชิ้นสวนกลองมโหระทึก ซึ่งเป็นโบราณวัตถุในวัฒนธรรมดงซอนเกี่ยวข้องกับพิธีกรรมซึ่งพบทาง
่
ตอนใต้ของจีนและในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งประเทศไทยและยังพบหลักฐานเป็นซากเมืองโบราณท ี่
เรียกว่า “เมืองศรีมโหสถ” ที่ตำบลโคกปีบ อำเภอศรีมโหสถ และบริเวณบ้านโคกขวาง อำเภอศรีมหาโพธิ บริเวณซาก
เมืองโบราณเหล่านี้มีซากโบราณสถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมศาสนกิจและโบราณวัตถุ ได้แก่ พระพุทธรูป เทวรูป
ั่
้
ั
เครื่องปั่นดินเผา เครื่องสำริดซึ่งเป็นเครื่องมือและเครื่องใช้กระจดกระจายอยู่ทวไปต่อมาศูนย์กลางความเจริญไดย้าย
มาตั้งอยู่ริมแม่น้ำบางปะกง ดังเช่นปัจจุบัน
“เมืองปราจีน” เป็นชื่อที่เรียกกันมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา และยังต่อมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสนทร์
่
ิ
ตอนต้นเรียกว่า “เมืองปราจิณ” หรือ “มณฑลปราจิณ” จวบจนสมัยพระบาทสมเดจพระมงกฎเกล้าเจาอยู่หัว รัชกาล
้
็
่
ที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดระเบียบการปกครองแผ่นดินตามแบบตางประเทศมณฑลปราจิณได้ถูกยุบเลกคงมี
ิ
ฐานะเป็นเพียงหัวเมืองเมืองหนึ่ง ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนคำว่า “เมือง” เป็น “จังหวัด” จึงมีชื่อ
เรียกใหม่ว่า “จังหวัดปราจีนบุรี”
2.2 ข้อมูลพื้นฐานของจังหวัดปราจีนบุรี
2.2.1 คำขวัญจังหวัดปราจีนบุรี
“ศรีมหาโพธิคู่บ้าน ไผ่ตรงหวานคู่เมือง ผลไม้ลือเลื่อง เขตเมืองทวารวดี”
รูปภาพที่ 2.1 ต้นศรีมหาโพธิ
สารสนเทศทางการศึกษาจังหวัดปราจีนบุรี ประจำปี พ.ศ.2567 7