Page 3 - Orchem สมบูรณ์
P. 3

โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง                                        เรอง เคมีอินทรีย์
                                                                                       ื่
                       ปัจจุบันนักเคมีได้สังเคราะห์สารอินทรีย์ได้อย่างมากมาย และยังก่อให้เกิดอุตสาหกรรมทางด้านเคมี

               อีกด้วย การศึกษาสารเหล่านี้จำเป็นต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี นอกจากนี้ในการศึกษาเพื่อให้ เข้าใจถึงสมบัติ
                                                                                      ี
               ของสารอินทรีย์ได้อย่างลึกซึ้ง จะต้องเข้าใจพันธะที่เกิดระหว่างอะตอม และรูปร่างของโมเลกุลอกด้วย

                 1. พันธะของคาร์บอน



                       คาร์บอนเป็นธาตุที่อยู่ในหมู่ 4A มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 4 จึงสามารถเกิดพันธะโคเวเลนซ์ได้

               ทั้งหมด 4 พันธะ โดย C สามารถใช้อิเล็กตรอนร่วมกันได้ตั้งแต่ 1 คู่ 2 คู่ หรือ 3 คู่ เกิดเป็น พันธะเดี่ยว (single

               bond) พันธะคู่ (double bond) หรือพันธะสาม (triple bond) ดังแสดง


                                                                       C                     C
                          C
                                                C

                      พันธะเดี่ยว        พันธะเดี่ยว 2 พันธะ     พันธะคู่ 2 พันธะ     พันธะเดี่ยว 1 พันธะ
                    ทั้งหมด 4 พันธะ      และพันธะคู่ 1 พันธะ                         และพันธะสาม 1 พันธะ



                2. ไฮบริไดเซชันกับสารประกอบอินทรีย์



                                                                              ั
                                                                                                 ิ
                       สารอินทรีย์เป็นสารโคเวเลนซ์ที่มีรูปร่างต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการสร้างพนธะของคาร์บอน การพจารณาว่า
               สารอินทรีย์มีโครงสร้างอย่างไรต้องอาศัยทฤษฎีไฮบริไดเซชันเข้าช่วยในการอธิบายโครงสร้างดังกล่าว ซึ่งทฤษฎี
               ไฮบริไดเซชันเป็นทฤษฎีที่ช่วยอธิบายการเกิดพันธะของสารประกอบอินทรีย์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งสามารถอธิบาย

                                                                                   3
                                                                                      2
               การเกิดรูปร่างของคาร์บอนได้ ชนิดของไฮบริไดเซชันที่เกิดกับสารอินทรีย์ได้แก่ sp  sp  และ sp


                                                                                  ทบทวนความรู้
               การซ้อนเหลื่อม (over lap) มี 2 ประเภท คือ

               1. พันธะซิกมา (σ–bond) หรือเรียกว่า แบบหัวชนหัว เช่น


                                                    +


                                                +


               2. พันธะไพ (  –bond) หรือเรียกว่า แบบข้างชนข้าง



                                                         +





                                                                                                                 Organic Chemistry By Kru Nachamon    2
   1   2   3   4   5   6   7   8