Page 15 - 23 แบม E book โครงการปลูกต้นไม้
P. 15

ข้อเสนอแนะและแนวทำงในกำรพัฒนำ


                   1.เวลาเลือกต้นไม้ที่ช่วยลดฝุ่นควรเลือกต้นที่เหมาะกับสถานที่ที่จะปลูก เช่นจะปลูกในที่ร่ม ก็เลือกต้นไม้ที่

                   ไม่ชอบแสง
                                                          สรุปผล

                             จากการทดลองพบว่าต้นไม้สามารถฟอกอากาศได้จริง ซึ่งต้นไม้ที่เราทดลองมีต้นพลูด่าง ลิ้นมังกร

                   กวักมรกต และว่านหางจระเข  ้
                             ต้นพลูด่างจากนาทีที่ 0 ถึงนาทีที่ 30 ในการทดลองครั้งแรกพบว่าค่าฝุ่นลดจาก 24 ลงไปถึง 8
                   µg/m³  ในการทดลองครั้งที่ 2 พบว่าค่าฝุ่นลดจาก 18 ลงไปถึง 6 µg/m³ โดยเฉลี่ยแล้วค่าฝุ่นลดไป  9

                   µg/m³ ภายในเวลา 30 นาที แสดงให้เห็นว่าต้นพลูด่างสามารถลดฝุ่น PM 2.5 ได้จริง
                             ต้นกวักมรกตจากนาทีที่ 0 ถึง30 ในการทดลองครั้งแรก พบว่าค่าฝุ่นลดจาก 20 ลงไปถง 15
                                                                                                 ึ
                   µg/m³ ในการทดลองครั้งที่ 2 พบว่าค่าฝุ่นลดจาก 22 ลงไปถึง 9 µg/m³ โดยเฉลี่ยแล้วค่าฝุ่นลดไป 14
                   µg/m³ ภายในเวลา 30 นาที นับได้ว่าต้นกวักมรกตสามารถลดฝุ่น PM 2.5 ได้จริง
                                        ้
                             ต้นว่านหางจระเขจากนาทีที่ 0 ถึงนาทีที่ 30 ในการทดลองครั้งแรก พบว่าค่าฝุ่นลดจาก 25 ลงไป
                   ถึง 11 µg/m³  ในการทดลองครั้งที่ 2 พบว่าค่าฝุ่นลดจาก 23 ลงไปถึง 9 µg/m³ โดยเฉลี่ยแล้วค่าฝุ่นลด
                   ไป 14 µg/m³ ภายในเวลา 30 นาที แปลว่าต้นว่านหางจระเข้สามารถลดฝุ่น PM 2.5 ได้จริง

                             ต้นลิ้นมังกรจากนาทีที่ 0 ถึงนาทีที่ 30 ในการทดลองครั้งแรก พบว่าค่าฝุ่นลดจาก 23 ลงไปถึง 7
                   µg/m³ ในการทดลองครั้งที่ 2 พบว่าค่าฝุ่นลดจาก 20 ลงไปถึง 8 µg/m³ โดยเฉลี่ยแล้วค่าฝุ่นลดไป 14

                   µg/m³ ภายในเวลา 30 นาที ถือได้ว่าต้นลิ้นมังกรสามารถลดฝุ่น PM 2.5 ได้จริง
                             สรุปได้ว่าต้นไม้ทั้ง 4 ต้นสามารถฟอกอากาศได้จริง โดยต้นกวักมรกต ว่านหางจระเข้ ลิ้นมังกร

                   ประสิทธิภาพในการฟอกอากาศได้ดีพอๆกัน ส่วนต้นพลูด่างมีประสิทธิภาพในการฟอกอากาศได้น้อยกว่า
                   ทั้ง 3 ต้น








                   บรรณำนุกรม

                          (การเขียนแหล่งที่มาจากข้อมูลที่เราไปค้นคว้า ได้แก่ เว็บไซต์  หนังสือ  บุคคล)


                    สืบค้นออนไลน์



                   ผู้เขียน.(วันที่ เดือน ปีที่เผยแพร่).ชื่อบทความ.สืบค้นเมื่อวันที่ เดือน ปี, จากแหล่งที่อยู่ ของไฟล์ (URL)

                   ตัวอย่ำง
                                                                                        ื่
                                                      ่
                    เปรมภัสส์ ตระกูลโชคเสถียร. (2557). สถิติน่ารู้วาด้วยเรื่อง Mobile Payment ในอเมริกา. สืบค้นเมอ 11 พฤศจิกายน 2558



                                                             10
   10   11   12   13   14   15   16   17   18