Page 9 - 23 แบม E book โครงการปลูกต้นไม้
P. 9
โรงงานอุตสาหกรรม และแหล่งก าเนิดเฉพาะ บทความวิจัยนี้ได้มุ่งเน้นในวิธีธรรมชาติ โดยใช ้
พืชพรรณไม้เลื้อยในการดักกรองฝุ่นจากท้องถนน โดยการทดลองใช้โครงแผงไม้เลื้อย
ที่มีขนาดกว้าง 0.80 เมตร สูง 1.50 เมตร จากนั้นน าพืชพรรณไม้เลื้อยที่มีคุณสมบัติทาง
กายภาพของใบที่แตกต่างกัน ได้แก่ พืชที่มีผิวใบด้าน (ต้นต าลึง) พืชที่มีผิวใบมัน (ต้นจันทร์
กระจ่างฟ้า) และพืชที่มีผิวใบสากมีขนปกคลุม (ต้นสร้อยอินทนิล) น ามาทดสอบในการดักจับ
้
ฝุ่นละอองที่มีขนาดไม่เกิน 500 ไมครอนโดยการใชตะแกรงมุ้งลวดขนาด 0.50 มิลลิเมตร ใน
การกรองฝุ่น ทดสอบในกล่องทดลองโดยใช้พัดลมดูดอากาศจ าลองสภาพกระแสลม ผลการ
ทดสอบ พบว่าพรรณไม้เลื้อยที่มีลักษณะใบแตกต่างกันมีความสามารถแตกต่างกันตามการปก
้
คลุมในช่วงเวลา 3 เดือน ตนสร้อยอินทนิลมีการดักจับฝุ่นได้มากถึงร้อยละ 63 ในขณะที่มีการ
ปกคลุมของใบเพียงร้อยละ 44 เนื่องจากลักษณะ ผิวใบที่สากมีขนปกคลุมท าให้เกิดแรงเสียด
ทานมากท าให้การดักจับฝุ่นละอองได้ดี ส่วนต้นต าลึง (พืชที่มีผิวใบด้าน) และต้นจันทร์กระจ่าง
้
ฟ้า (พืชผิวใบมัน) มีความสามารถในการดักจับฝุ่นไดน้อยกว่า โดยมีปริมาณของการดักจับฝุ่น
ร้อยละ 57.89 และ 66.27 ซึ่งใกล้เคียงกับร้อยละของพื้นที่ใบปกคลุมร้อยละ 54.12 และ
้
60.76 ตามล าดับ แผงไม้เลื้อยสามารถใช้กรองฝุ่นไดดี โดยน าไปติดตั้งบริเวณหน้าต่างด้านริม
ิ
ถนนของอาคารที่ระบายอากาศธรรมชาต นอกจากนยังช่วยให้เกิดความสวยงามให้ความพึง
ี้
พอใจและประโยชน์ทางจิตวิทยาแก่มนุษย์
ชื่อคนท ำโครงกำร เรื่องที่ 2 เอกเจริญศิลป์ และ นภสวัลยั ์เกิดนรินทร์
เรื่องที่ 2 เรื่อง ศึกษาการใช้งานพันธ์ไม้ช่วยลดมลภาวะทางอากาศเพื่อใช้ในโครงการคอนโด
รักษ์สิ่งแวดล้อมในเมือง
บทคัดย่อ
ั
ผู้ด าเนนการวิจัยมีวัตถุประสงคจะท าการออกแบบโครงการการพัฒนาอาคารทอยู่อาศยแนวตั้ง
์
ิ
ี่
ในเมืองซึ่งน าธรรมชาติและเทคโนโลยีแบบพึ่งพาธรรมชาติมาช่วยในการแก้ไขปัญหาผลกระทบ
ุ
ของมลภาวะดานสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะฝ่นละออง เพื่อสนบสนนแนวคิดการสร้างความยั่งยืน
ั
้
ั้
ิ
ของเมืองโดยมีแนวคดหลักในการน าพันธุ์ไม้ต่างๆซึ่งลดมลภาวะมาใชงานรวมทงน าพันธุ์ไม้
ดังกล่าวมาสร้างเป็นชิ้นส่วนหรือองค์ประกอบของอาคารเพื่อช่วยแก้ปัญหา ดังกล่าวให้มาก
ิ้
ที่สุด งานวิจัยชนนถูกจดท าขนเพื่อสนองตอบต่อแนวคิดดงกล่าวโดยเริ่มการวิจัยจากการ
ั
ี้
ึ้
้
ออกแบบ ตารางที่เหมาะสมในการจัดกลุ่มพันธุ์ไม้เพื่อใช วิเคราะห์รูปแบบจากขอมูลซึ่งถูก
4