Page 33 - 385-67 สถาบันบำบัด P.10
P. 33
ตารางที่ 4 การป่วยซ้ําของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้เมทแอมเฟตามีนจําแนกตามกลุ่มตัวอย่าง หลังสิ้นสุดการทดลอง และจําหน่าย 2 สัปดาห์ และ 4 สัปดาห์
ระยะเวลา
ป่วยซ้ํา
การเสพซา้ํ
ไม่ป่วยซ้ํา
37 (88.10) 33 (78.60)
36 (85.70)
RR (95%CI)
0.49 (0.15-1.60) 0.30 (0.10-0.87)
p-value
0.24 0.02*
หลังสิ้นสุดการทดลองและจําหน่าย 2 สัปดาห์ กลุ่มทดลอง 5 (11.90) กลุ่มควบคุม 9 (21.40) หลังสิ้นสุดการทดลองและจําหน่าย 4 สัปดาห์ กลุ่มทดลอง 6 (14.30) กลุ่มควบคุม 15 (35.70)
27 (54.30)
จากตารางที่ 4 พบว่า การป่วยซ้ําหลังสิ้นสุดการทดลองและจําหน่าย 2 สัปดาห์ ของกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุมป่วยซ้ําไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ ส่วนการป่วยซ้ําหลังสิ้นสุดการทดลอง และจําหน่าย 4 สัปดาห์ กลุ่มทดลองป่วยซ้ําร้อยละ 14.30 ส่วนกลุ่มควบคุมป่วยซ้ําร้อยละ 35.70 ทั้งสองกลุ่ม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และพบว่ากลุ่มทดลองมีโอกาสป่วยซ้ํา 0.3 เท่าของ กลุ่มควบคุม หรือกลุ่มทดลองที่ได้รับรูปแบบผสมผสานการพยาบาลมีโอกาสป้องกันการป่วยซ้ําเป็น 0.7 เท่า ของกลุ่มควบคุมท่ไี ด้รับการพยาบาลตามปกติ
ตารางที่ 5 เปรียบเทียบการเสพซ้ําของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้เมทแอมเฟตามีนจําแนกตามกลุ่มตัวอย่าง หลังสิ้นสุด การทดลองและจําหน่าย 2 สัปดาห์ และ 4 สัปดาห์
ระยะเวลา การเสพซา้ํ
RR (95%CI)
0.33 (0.11-0.97) 0.31 (0.11-0.83)
p-value
0.04* 0.01*
เสพซ้ํา
หลังสิ้นสุดการทดลองและจําหน่าย 2 สัปดาห์ กลุ่มทดลอง 6 (14.30) กลุ่มควบคุม 14 (33.30)
หลังสิ้นสุดการทดลองและจําหน่าย 4 สัปดาห์ กลุ่มทดลอง 8 (19.00) กลุ่มควบคุม 18 (42.90)
ไม่เสพซา้ํ
36 (85.70) 28 (66.70)
34 (81.00) 24 (57.10)
*p-value ≤ .05
จากตารางที่ 5 พบว่า การเสพซ้ําหลังสิ้นสุดการทดลองและจําหน่าย 2 สัปดาห์ และ 4 สัปดาห์
ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยพบว่าหลังจําหน่าย 2 สัปดาห์ และ 4 สัปดาห์ กลุ่มทดลองที่ได้รับรูปแบบผสมผสานการพยาบาลมีโอกาสเสพซ้ํา 0.33 เท่า และ 0.31 เท่า ของกลุ่มควบคุม หรือมีโอกาสป้องกันการเสพซ้ําเป็น 0.67 และ 0.69 เท่า ของกลุ่มควบคุม ที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
31