Page 130 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 130
6. สรุุปและอภิิปรายผล จากผลการศึกษาเพลงที่ใชหาเสียงในการเลือกตั้งสมาชิก
สภาผูแทนราษฎรไทยเปนการทั่วไป พ.ศ. 2566 ซึ่งเผยแพรระหวางเดือน กุมภาพันธถึง 14 พฤษภาคม 2566 จํานวนทั้งสิ้น 12 ตัวบท ในแงของกลวิธี ทางภาษาที่พบในตัวบทเพลงหาเสียงเลือกตั้งพบวา มีการใชกลวิธีทางภาษา หลากหลายประการ ทั้งกลวิธีดานศัพท ไดแก การใชชื่อและการเรียกช่ือ และการใชคํากริยา กลวิธีการขยายความ กลวิธีทางวัจนปฏิบัติศาสตรและ วาทกรรม ไดแก วัจนกรรมชี้นํา วัจนกรรมบอกกลาว วัจนกรรมผูกมัด การปฏิเสธ การใชมูลบท กลวิธีทางวาทศิลป การใชอุปลักษณ การใชสหบท กลวิธีการเกาะเกี่ยวความ การซ้ําคํา และการซ้ําโครงสราง การบงชี้ ไดแก การบงช้ีบุคคล การบงชี้เวลาและการบงช้ีสถานที่ สามารถสรุปและวิเคราะห แตละกลวิธีไดดังนี้
กลวิธีดานคําศัพท จากการศึกษาเพลงที่ใชหาเสียงในการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผูแทนราษฎรไทยจํานวน 12 ตัวบท ประการที่หนึ่ง การใชช่ือ และการเรียกชื่อบุคคลที่เปนชื่อเฉพาะมักจะใชกลาวถึงผูสมัครรับเลือกต้ัง เปนนายกรัฐมนตรีและชื่อพรรคการเมือง อาจปรากฏชื่อเฉพาะโดด ๆ หรือ เกิดรวมกับคําอื่น ๆ ไดแก คํานําหนาชื่อและคําเรียกญาติ สวนการใชชื่อและ การเรียกชื่อบุคคลท่ีเปนประชาชนใชกลาวถึงประชาชนคนไทย อาจปรากฏ คํานามท่ีมีความหมายเกี่ยวกับประชาชนหรือคํานามระบุเชื้อชาติโดด ๆ หรือ อาจเกิดรวมกับคําเรียกญาติหรือคําแสดงกลุมคนก็ได ที่เดนอีกประการหน่ึง เกี่ยวกับการอางถึง ก็คือ การใชคําสรรพนาม ที่เปนการบงชี้บุคคล โดยการใช คําสรรพนามแทนผูพูด คือ พรรคการเมือง และคําสรรพนามแทนผูฟงและ ผูที่ถูกกลาวถึงซึ่งสวนใหญเปนผูที่จะตองลงคะแนนเสียงสนับสนุนพรรค การเมือง นั่นก็คือ ประชาชน ที่นาสนใจอีกประการหนึ่งก็คือ คําสรรพนาม
122