Page 160 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 160

                กะเทาะเปลือกปญหาครอบครัว เชน งานของกฤษณา อโศกสิน นวนิยาย สะทอนปญหาสถาบันครอบครัว อยาง “กระเชาสีดา” “บานขนนก” นวนิยายรักปกปดฉากชีวิตเพศที่สาม อยาง “ประตูที่ปดตาย” “บัลลังก ใยบัว” “รากแกว” หรืองานของกีรติ ชนา อยาง “ทางสายที่สาม” ฯลฯ วรรณกรรมเหลานี้มุงนําเสนอภาพความเปนจริงอันยากลําบากของชายหญิง หรือกลุม LGBTQ+ แลวแสดงออกมาในลักษณะเห็นอกเห็นใจ เครงเครียด จริงจัง อาจจะมีเร่ืองความสัมพันธรัก ๆ ใคร ๆ บาง หากไมใชประเด็นสําคัญ ซึ่งแตกตางกับงานในปจจุบันของสํานักพิมพ P.S. publishing ที่มุงนําเสนอ เรื่องราวเกี่ยวกับการสํารวจความสัมพันธของกลุมคนหลากหลายเพศ โดย ไมไดมุงชี้วาเปนปญหาสังคมเหมือนกับในอดีต
นอกจากนี้ ปฏิเสธไมไดวาแนวคิดหลังสมัยใหม (Post modern)1 ทําใหวรรณกรรมมีความแปลกใหม ในดานรูปแบบ เนื้อหา และกลวิธี เพราะ แนวคิดนี้ไดตั้งคําถามและทาทายความคิดที่เปนแบบแผนเดิม ตลอดจนการ นําเสนอเรื่องความจริงที่เปลี่ยนไป ทําใหวรรณกรรมแนวสัจนิยม สะทอน สังคมแบบเถรตรง อาจจะไมนาสนใจเทาไรนัก หรืออาจใชคําวา “นาเบื่อ” ไปแลว
เนื้อหาที่นาสนใจ เชน การนําเสนอภาวะหลังมนุษยนิยม (Post human) เรื่องของคอมพิวเตอร หุนยนต การเติบโตของเทคโนโลยีไดสงผล ใหเน้ือหาในวรรณกรรมนําเสนอประเด็นการพัฒนาของปญญาประดิษฐ (AI) กระท่ังถึงความเปนมนุษยวาแตกตางจากจักรกลอยางไร
อีกทั้งยังมีความซบั ซอนของจิตใจมนุษยในโลกยุคดิจิทัล เชน งาน ของจิดานันท เหลืองเพียรสมุท อยาง “วรรณกรรมที่แทจริงนะ ตองใช คอมพิวเตอรเขียนเทานั้นไมรูเหรอ” “ยุคสมัยแหงความสิ้นหวัง” หรือเรื่อง สั้นโอนถายความเปนมนุษย ในรวมเรื่องสั้นชุด “สิงโตนอกคอก” นอกจากนี้ จิดานันทยังเปนนักเขียนที่นาจับตามองคนหนึ่ง เพราะเธอเขียนงาน 152































































































   158   159   160   161   162