Page 161 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 161

                หลากหลายแนว อาทิ แนวดิสโทเปย แนววายชายรักชาย เชน “ชายใดเลา จะแซบเทาแฟนเกาแม” หรือแนวยูริหญิงรักหญิงอีกดวย เชน รวมเรื่องสั้น ชุด “เด็กสาวกับแมวสีขาว” และยังไมนับวาเธอเปนนักเขียนท่ีอายุนอยท่ีสุด ในประวัติศาสตรที่สามารถควารางวัลซีไรตป 2560 จากผลงานรวมเรื่องส้ัน ชุดสิงโตนอกคอกไปได
สวนกลวิธีที่นาสนใจ เชน “Paris in Pairs ปารีสบนดาวดวงอื่น” ของโชติกา ปริณายก สํานักพิมพแซลมอน (Salmon books) เปนหนังสือ แนว ‘Concept Idea’ ที่ผูเขียนหยิบยกเอารูปภาพและเกร็ดขอมูลระหวาง การเดินทางในมหานครปารีสมาเติมแตงเปนเหตุการณสั้น ๆ ของผูคนใน ปารีสที่รอยตอกันเปนเรื่องราว มีเสนหดึงดูดชวนใหอานจากการเลาเรื่อง และเลือกวิธีการดําเนินเรื่องแปลกใหม กลาวคือเธอใชรูปถายเปนตัวตั้งใน การเลาเรื่อง และมีกลิ่นอายของสัจนิยมมหัศจรรย (Magical realism)2 ผาน เรื่องราวของหลายตัวละครสุดแปลกที่โคจรมาเกี่ยวพันกันโดยมิไดนัดหมาย ตั้งแตหญิงสาวนักโจรกรรม หนุมนักลวงกระเปา ปาผูฝนเปนเจาหญิงนิทรา ชายขายเบอรเกอรกับหญิงสาวแปลกหนา ฯลฯ จนกระทั่งในตอนสุดทายท่ี ฉายภาพของเมืองปารีสในอีกโลกคูขนานหรือ ‘ปารีสบนดาวดวงอ่ืน’
ปรากฏการณเหลานี้ทําใหเห็นการขยายตัวของวรรณกรรม ชายขอบและวรรณกรรมกระแสรอง ที่มีเนื้อหาและกลวิธีเพื่อตั้งคําถาม เกี่ยวกับความขัดแยงในสังคมและความเปนมนุษย กอปรกับความพยายาม ตอสูดิ้นรนในภาวะแหงยุคสมัย วรรณกรรมไทยในปจจุบันจึงมีความ หลากหลายข้ึน เปดกวางข้ึน มีนักเขียนท่ีเขียนเร่ืองสะทอนสังคมเมือง สังคม ชนบท เรื่องความสัมพันธ เรื่องโรแมนติก เรื่องโลกอนาคต และอื่น ๆ มาก ข้ึน
153































































































   159   160   161   162   163