Page 163 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 163
ฝมือความสามารถของนักเขียน สงเสริมและใหกําลังใจในการสรางสรรค ผลงานที่ดีตอไป แตผลที่เกิดตามมาทางออมคือ เปนการเลือกเฟนหนังสือดี จากหนังสือทั่วไป และอาจทําใหเกิดกระแสนิยมในการเขียนและการอาน หนังสือที่มีประโยชน มีคุณคา มีศิลปะ และกลายเปนเครื่องมือทางดาน การตลาดไปในที่สุด เคยมีผูกลาววา การตัดสินรางวัลอะไรก็ตามเปน “รสนิยมรวมหมู” ของคนกลุมหน่ึง หากบังเอิญไปตรงกับรสนิยมของมหาชน การตัดสินนั้นก็ไดรับการยกยองวาถูกตองเที่ยงธรรม แตหากไมตรงกับ รสนิยมของคนสวนใหญ ก็จะไดรับการวิพากษวิจารณไปจนถึงไมยอมรับมติ นั้น ๆ อยางไรก็ตาม เราคงไมคาดหวังใหผลงานศิลปะท่ีไดรับรางวัลใดรางวัล หนึ่งไดรับการยอมรับจากมหาชนอยางเปนเอกฉันทเสมอไป เพราะปฏิกิริยา ทางความคิดที่หลากหลายของผูรับตางหากเปนสิ่งที่พัฒนางานศิลปะ มากกวารางวัล (รื่นฤทัย สัจจพันธุ, 2558 : น. 34-55)
รวมความวาทิศทางของการอานวรรณกรรมก็ข้ึนอยูกับ “รสนิยม” และ “จริต” ของคนอานอีกโสดหนึ่งดวย มีอาจารยทานหนึ่งเคยพูดให ขาพเจาฟงวาหนังสือเปนความชอบสวนบุคคลโดยแท “ครูไมชอบ แต นักศึกษาอาจจะชอบก็ได” เชน กวีนิพนธซีไรตที่ทานหยิบยกมาอยาง “โลก ในดวงตาขาพเจา” ของมนตรี ศรียงค ทานมักจะพูดทิ้งทายเสมอวาไมพึงใจ ผลงานของกวีหมี่เปดคนนี้เทาใดนัก ในขณะที่ “มือนั้นสีขาว” ของศักดิ์ศิริ มีสมสืบ ไดรับการหยิบยกมาพูดและชวนตีความบอยครั้ง แมสวนตัวขาพเจา พึงใจที่จะโจนทะยานขี่ “มากานกลวย” กลับบานไปขอพรพอกับไพวรินทร ขาวงามมากกวาก็ตาม ประเด็นนี้ก็นาคิดวากวีนักเขียน อาจมีสวนในการ กําหนดรสนิยมของผูอาน ระหวางกวีปจเจกกับกวีบริสุทธ
ถัดมาจะขอกลาวถึงวรรณกรรมรางวัล ในฐานะเปนหมุดหมายของ การศึกษาวรรณกรรม ก็คงจะหนีไมพนรางวัลวรรณกรรมซีไรต (รางวัล วรรณกรรมสรางสรรคยอดเยี่ยมแหงอาเซียน) ขอยกตัวอยางปรากฏการณ
155