Page 164 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 164

                นวนิยายซีไรตประจําป 2564 ที่รางวัลลาสุดตกเปนของ “เดฟน” ของศิริวร แกวกาญจน ซึ่งขาพเจามีโอกาสไดอานแลวก็รูสึกวาสมฐานะรางวัลซีไรต เพราะยังคงตองใชความสามารถในการอานและการเขาถึงอยางอเนกอนันต ขณะที่เลมที่ขาพเจาชื่นชอบ อยาง “วรรณกรรมที่แทจริงนะ ตองใช คอมพิวเตอรเขียนเทานั้นไมรูเหรอ” ของ ร เรือในมหาสมุท หรือ “วายัง อมฤต” ของอนุสรณ ติปยานนท น้ันพลาดรางวัลไปอยางนาเสียดาย
ทั้งนี้ที่กลาววาวรรณกรรมรางวัลสรางสรรคนั้นอานหรือเขาถึงได ยากก็อาจไมยุติธรรมเทาไรนัก เพราะวรรณกรรมสรางสรรค อาจหมายถึง กระบวนการในการผลิตงานที่จะตองนําเสนอสิ่งใหม แตตอมาคอย ๆ กลายเปนประเภทหนึ่งของวรรณกรรมท่ีจะตองมีเนื้อหาสะทอนปญหาสังคม ตลอดจนอารมณและความรูสึกนึกคิดเชิงสังคมและปจเจกบุคคลที่จะตองมี ประโยชนตอผูอานและสังคมโดยรวม (พิเชฐ แสงทอง, 2559)
อยางไรก็ตามแต จากปรากฏการณนวนิยายที่เขารอบสุดทายของ ซีไรตป 2564 ก็ประสาทพิศวงใหแกขาพเจาไมนอย นวนิยายไลทโนเวล3 ชวนเบาสมองจะเขารอบไดลึกถึงเพียงนี้ ซึ่งนวนิยายที่ยกมา 2 เร่ืองน้ัน แตกตางกัน วรรณกรรมที่แทจริงนะฯ ของ ร เรือฯ เปนงานประเภท ไลทโนเวล ภาษาและการเลาเรื่องจึงทําใหอานงาย สนุก หรือกลาวไดวาเปน งานที่ยอยงาย เปนเรื่องเบาสมองทํานอง “แงงงง หูกระตายของหนูยับงา” แตกลับมีประเด็นที่คอนขาง “หนัก” และมีลักษณะของประชานิยม (Pop culture)4 เพราะการเลือกใชประเภทของงานที่นําเสนอโดยการหยิบยืม วัฒนธรรมการเขียนจากประเทศญี่ปุนอยางไลทโนเวล ซึ่งนับวา “เบา” (Light) ในเชิงรูปแบบ ก็มีความนาสนใจไมนอย และงานประเภทนี้เองยงั ได ผูกกับระบบตลาดและความนิยมของประชาชนอันตรงกันขามกับวัฒนธรรม ชั้นสูงอีกดวย
156































































































   162   163   164   165   166