Page 168 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 168

                อนึ่ง นาสังเกตวาการเขียนนิยายเถาหรือนิยายชุดออนไลนอาจเปน ความนิยมที่สืบตอมาจากในอดีต นิยายเถาของไทยนั้นมีมานานแลวตั้งแต งานของ ว.ณ.ประมวญมารค อยาง “ปริศนา” “รัตนาวดี” “เจาสาวของ อานนท” เรื่อยมาจนถึงงานของนักเขียนในปจจุบันก็มีหลายเร่ืองที่เขียนเปน นิยายเถา อยางกิ่งฉัตร หรือปยะพร ศักด์ิเกษม ที่สําคัญคือในปจจุบันนิยมนํา นิยายเถามาสรางเปนละครชุด เพราะสามารถขายเขาตลาดทําเงินไดส องทาง กลาวคือ ขายนิยายไดทางหนึ่ง และขายเปนละครไดอีกทางหนึ่ง มีแฟน ละครชื่นชอบและติดตาม เชน ชุดนวนิยายรัก “บานไรปลายฝน” โดยณารา ซอนกล่ิน รมแกว และแพรณัฐ ไดถูกนําไปสรางเปนละครโทรทัศน โดยตั้งชื่อ วาละครชุด “สี่หัวใจแหงขุนเขา” หรือชุดนวนิยายรักพีเรียด “สุภาพบุรุษ จุฑาเทพ” โดยณารา รมแกว เกาแตม ซอนกลิ่น และแพรณัฐ ก็ไดถูกนําไป สรางเปนละครโทรทัศนในชื่อเดียวกัน ทําใหกระแสนิยายเถาและละครชุด นั้นชวงหนึ่งไดรับความนิยมและเติบโตขึ้นอยางมาก ทั้งนี้อาจเนื่องดวยการ สนับสนุนจากระบบทุนนิยม อยางการขายคูนักแสดงท่ีมีเคมีเขากัน หรือการ ออกงานคูชวนจิ้นฟนนอกจอสูการตอยอดธุรกิจโฆษณาคาขายสินคา และยัง มีพื้นที่สื่ออินเทอรเน็ตตาง ๆ ชวยในการเผยแพรขาวสารขอมูล
นอกจากนี้ ความเจริญกา วหนาทางเทคโนโลยีดานอินเทอรเน็ตยัง มีผลตอวัฒนธรรมการอาน กลาวคือ นักอานหันไปสนใจอานวรรณกรรมผาน ชองทางออนไลนมากขึ้น ไมไดอานจากหนังสือที่เปนรูปเลม เหตุเพราะการ พกหนังสืออาจสรางความลําบาก การอานผานออนไลนสะดวกและงายดาย มากกวา โทรศัพทเพียงหนึ่งเครื่องก็สามารถอานหนังสือไดเปนสิบ ๆ เลม ขาพเจารูสึกแปลกใจกับเพื่อนคนหนึ่งที่ยอมรับโดยดุษณีวาเธอชอบอาน หนังสือจากหนาจอโทรศัพทมากกวาจากหนังสือเลม ถึงขนาดเธอยืมหนังสือ จากหองสมุดแลวยอมถายหนาทั้งหมดเพื่อเปดอานในโทรศัพทแทน อีกท้ัง ขอดีของวรรณกรรมจากอินเทอรเน็ตยังอยูท่ีผูอานสามารถเลือกอานไดอยาง 160

































































































   166   167   168   169   170