Page 17 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 17

                ของตนเอง และยังใชพื้นที่เหลานี้เพื่อแสดงความรูสึกนึกคิดที่ดีตาง ๆ ของตนเอง ในทางกลับกันอาจใชเพื่อระบายความรูสึกที่ไมดี หรือความรูสึก อัดอั้นตันใจ และเมื่อผูรับสารไดอานขอความเหลานี้ก็ไดขอคิดและมุมมอง เพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติตนตอไป ซึ่งเปนประโยชนจากการ ใชเครือขายสังคมออนไลน
ฮามัม สุปรียาดี (2548) ศึกษาลักษณะวัจนกรรมที่ปรากฏใน เว็บโฆษณาไทย-อินโดนีเซีย ตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร มีจุดมุงหมาย เพื่อศึกษาประเภทของวัจนกรรมและเปรียบเทียบการใชวัจนกรรมที่ปรากฏ ในเว็บไซตโฆษณาภาษาไทยและภาษาอินโดนีเซีย รวมถึงศึกษาการใช วัจนกรรมตรงและวัจนกรรมออม และเปรียบเทียบการใชวัจนกรรมตรง และวัจนกรรมออมที่ปรากฏในเว็บไซตโฆษณาภาษาไทยและภาษา อินโดนีเซีย ซึ่งขอมูลที่ใชในการศึกษาไดจากการรวบรวมโฆษณาแบบ แถบประกาศจากเว็บไซตที่เปนภาษาไทยและภาษาอินโดนีเซีย ระหวางวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2546 ถึงวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2547 บทโฆษณาที่ใชใน การศึกษามีจํานวนทั้งสิ้น 611 บท ประกอบดวยโฆษณาแบบแถบประกาศ ภาษาไทยจํานวน 283 บท และโฆษณาแบบแถบประกาศภาษาอินโดนีเซีย จํานวน 328 บท
จากผลการศึกษาพบวัจนกรรมที่ใชในโฆษณาแบบแถบประกาศ ทั้งภาษาไทยและภาษาอินโดนีเซีย โดยเรียงตามลําดับปริมาณการใช จํานวน 5 ประเภท ไดแก 1) การกลาวความจริง เปนวัจนกรรมที่ใชในการระบุขอมูล ตาง ๆ ในการขายสินคาหรือบริการประกอบการใชถอยคํา 2 ประเภท ไดแ ก การยืนยันคุณภาพของสินคาหรือบริการ และการแนะนําสินคาหรือบริการ 2) การกลาวชี้นํา เปนวัจนกรรมท่ีใชใ นการจูงใจใหผูบริโภคกระทําสิ่งตาง ๆ
9































































































   15   16   17   18   19