Page 56 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 56

                ผูวิจารณเลือกใชคํากริยาท่ีสอดคลองกับแนวคิดในตัวบท เกี่ยวกับ เร่ือง “สีผม” ของตัวละคร จึงเลือกใชคํากริยาที่สื่อความหมายถึงสภาพและ ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากสีผม ไดแก “สั่นคลอน” และ “สงผล” ซึ่งเปน มุมมองและทัศนคติที่ผูเขียนตองการเสนอจึงนํามาใชเปนชื่อหัวขอรอง ของบทวิจารณ ขณะที่เนื้อหาของบทวิจารณ ผูเขียนไดใชกริยาในลักษณะ ของกริยาที่เกี่ยวกับการยอมสีผม การแตงตัว และการสรางภาพลักษณใหม ของตัวละครเพื่อปกปดสิ่งที่ตนเองไมมั่นใจ ไดแก ยอมผม แตงตัวเรียบงาย สรางภาพลักษณ ดูดี ปดทับ (ผมสีดํา) ซึ่งเปนคํากริยาแสดงการกระทํา และแสดงทัศนคติเพื่อสื่อความคิดของตัวละคร
5.2 กลวิธีดานการขยายความ
ถอยคําที่เปนสวนขยาย อาจเปนคํา วลี หรืออนุพากย ไดแก สวน ขยายนาม คือ คําคุณศัพท หรืออนุพากยขยายนาม สวนขยายกริยา คือ คําวิเศษณ หรืออนุพากยวิเศษณ สวนขยายทําใหเกิดสวนที่เดนชัดและภาพ พื้นหลัง อาจเปนแนวทางท่ีดีหรือทางลบก็ได (Positive meaning or negative meaning)
ตัวอยาง (12)
ทางยูนิเวอรแซลเลือกใช แอรอน ฮอรวาธ (Aaron Horvath) และ ไมเคิล เยเลนิก (Michael Jelenic) ที่เปนผูกํากับใหมถอดดามมาทําหนาท่ี สําคัญน้ี
(The Super Mario Bros. Movie: เด็กนอย-เด็กหนวดมีกรี๊ด แตผูกํากับยังออนประสบการณไ ปหนอย, 2566)
ตัวอยาง (13)
จนถึงเมนูทาย ๆ ในฤดูใบไมรวงที่เธอตั้งใจทําผัดผัก เมนูที่แสน งายดายในความคิด แตเธอผัดอยางไร ดัดแปลงแคไหน ก็ไมอรอยเทาฝมือ
48
    

























































































   54   55   56   57   58