Page 58 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 58

                5.3 การใชทัศนภาวะ (Modality)
ในภาษาไทยมีการแสดงออกทางภาษาเพื่อแสดงทัศนภาวะ ไดหลายลักษณะ เชน การใชคําวิเศษณขยายหนากริยา เชน อาจจะ นาจะ คงจะ ตอง ขยายหลังกริยา เชน แนนอน มาก การใชหนวยเชื่อมโยงแสดง ความเห็นแยง แต ในทางกลับกัน ทัศนภาวะแสดงความมั่นใจ เชน ตอง แนนอน เปนตน และแสดงความลังเลสงสัย การแบงรับแบงสู การคาดคะเน เชน นาจะ คงจะ รวมถึงการใชรูปปฏิเสธ “ไม” และภาษาไทยมีรูปแบบ จํากัดในการแสดงรูปปฏิเสธจึงเลี่ยงไปใชคําแสดงความคิดเห็นเชิงแยงแทน รวมไปถึงกริยาวลีที่แสดงการประเมินคาเพ่ือส่ือทัศนคติของผูเขียนดวย เชน นาสนใจ ดังจะเห็นไดจากตัวอยาง
ตัวอยาง (15)
ลักษณะเหลานอี้อาจจะไมไดสื่อถึงความสูงสงกวา กลับกันลักษณะ ที่ตัวเอกเปนในเรื่อง ไมวาจะทั้งโซฟหรือฮาวลเอง ตางไมไดชื่นชอบและ ยอมรับความเปนตัวเองอยาง ‘สีผม’ ดั้งเดิมของตน ซึ่งอาจจะเปนลักษณะ ของคนเอเชีย
(สีผม สงครามและคําสาป ใน Howl’s Moving Castle, 2565)
ตัวอยาง (16)
...จากเมื่อใกลสิ้นสุดฤดูใบไมรวง อิชิโกะไดรับจดหมายจากแม ที่อาจจะเปนกุญแจสําคัญท่ีไขคําตอบใหกับเธอแลว
   50
(บทวิจารณภาพยนตร Little Forest: ปรุงรสจนเขาใจ, 2558)


























































































   56   57   58   59   60