Page 98 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 98

                3.2 วิธีการวิเคราะห
วิเคราะหเนื้อเพลงที่รวบรวมมา โดยพิจารณาที่กลวิธีทางภาษา เชน การใชชื่อและการเรียกชื่อ การใชคํากริยา การใชมูลบท การปฏิเสธ รวมถึงการวิเคราะหความหมายที่ปรากฏผานภาษาในเนื้อเพลง จากน้ัน จึงนํามาเปรียบเทียบความเหมือน และความแตกตางในการสื่อความหมาย สุดทายคือสรุปผลการวิเคราะห และอภิปรายผลเพื่อใหเห็นความสัมพันธ ระหวางภาษากับบริบททางการเมืองไทย
4. ทบทวนวรรณกรรมหรืือเอกสารงานวจิิ ััยที่่ีเก่ีี่ยวของ
ภาษาหาเสีียง (political campaign language) เปนวัจนลีลาหน่ึง
ของภาษาการเมือง ปรากฏไดทั้งรูปแบบของการพูด (spoken texts) เชน การปราศรัยหาเสียง การสัมภาษณทางสื่อมวลชน และรูปแบบของการเขียน (written texts) เชน การใชแผนพับประชาสัมพันธ และโปสเตอรหาเสียง เปนตน (จันทิมา อังคพณิชกิจ, 2559, น. 302)
ภาษาระดัับขอความ (discourse) คือ ภาษาที่ใชอยูในบริบท ทางการสื่อสารอยางใดอยางหนึ่งของผูใชภาษาในสังคม อาจเปนถอยคํา ภาษาพูด (spoken) หรือถอยคําภาษาเขียน (written) อาจเปนภาษา ที่มีรูปถอยคํา (verbal) หรือไรถอยคํา (non-verbal) ก็ได ขอมูลภาษา มักจะมีรูปแบบโครงสรางและความสัมพันธเชื่อมโยงที่แสดงความเปน เอกภาพภายในเน้ือหาเดียวกัน ขอบเขตและขนาดของขอมูลอาจมีขนาดเล็ก เพียงคําหนึ่งคําไปจนถึงหนังสือเลมขนาดใหญ หากตองการเนนในแงของ ขอมูลภาษาที่ใชในการวิเคราะหก็อาจมีความหมายเทากับ “ตัวบท” (text) (จันทิมา อังคพณิชกิจ, 2561, น. 24)
กลวิิธีีทางภาษา (linguistic strategies) เปนหนึ่งในกลวิธีของ การผลิตตัวบท ในที่นี้หมายรวมทั้งตัวบทที่มีรูปถอยคําหรือวัจนภาษา
90



























































































   96   97   98   99   100