Page 99 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 99

                (verbal text) และตัวบทที่ไมมีรูปถอยคําหรืออวัจนภาษา (nonverbal text) กลวิธีทางภาษาทั้งที่เปนวัจนภาษาและอวัจนภาษา ปรากฏอยูทั่วไปในขอความ เนื่องจากตัวบทแตละตัวบทผานการเลือกใชภาษาที่แฝงดวยวัตถุประสงค หรือมีเจตนามุงหมายของผูสงสาร (หรือผูผลิตตัวบท) สื่อไปยังผูรับสาร (ผูบริโภคตัวบท) ทามกลางกิจกรรมการสื่อสารบางประการ ตัวบทหรือ ขอความประเภทตาง ๆ ก็มักจะเจือปนดวยกลวิธีทางภาษาที่แตกตางกัน ไปดวย นอกเหนือจากรูปแบบหรือแบบแผนของขอความแตละประเภทแลว ยังตองมีระบบของการเลือกใชภาษาใหเปนไปตามวัตถุประสงคดวย (จันทิมา อังคพณิชกิจ, 2561, น. 181)
5. ผลการศึึกษา (Result)
5.1 ผลการวิเคราะหกลวิธีทางภาษาในเพลงหาเสียงเลือกตั้ง พ.ศ.
2566 จากการวิเคราะหกลวิธีทางภาษาในตัวบทเพลงหาเสียง จํานวนทั้งส้นิ 12 ตัวบท ผลการศึกษาพบวา ตัวบทเพลงหาเสียงมีการใชกลวิธีทางภาษา ท่ีทําใหลักษณะเดนของตัวบทประเภทเพลงหาเสียง ไดดังนี้
5.1.1 กลวิธีดานศัพท
กลวิธีดานศัพทที่พบในตัวบทเพลงหาเสียง พบวามีลักษณะของ การอางถึง กับการใชคํากริยาและทัศนภาวะ โดยมีรายละเอียดดังน้ี
5.1.1.1 การอางถึง
การอางถึงเปนกลวิธีทางศัพทที่ใชในการเชื่อมโยงสัมพันธของ ขอความ เพื่อบงชี้ถึงสิ่งที่ผูพูดตองการจะสื่อหรืออางอิงถึง การอางถึงที่พบ เดนๆในเพลงหาเสียงเลือกตัง้ ไดแกการใชชื่อเฉพาะซึ่งเปนคํานามเฉพาะ (proper noun) และการใชคําสรรพนามแบบรวมผูพูดและผูฟง (inclusive pronoun) ตั้งชื่อเรียกบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวพันกับ วิถีปฏิบัติทางสังคม โดยในเพลงหาเสียงเลือกตั้งพบวามีการใชชื่อและ
91


























































































   97   98   99   100   101