Page 4 - หลักการเขียน การใชภาษาในการเขียน พท31001
P. 4
5. ความสั้นยาวของการยอความไมสามารถก าหนดเปนอัตราสวนได ขึ้นอยูกับจุดประสงคของ การย
อและลักษณะของเรื่องที่ยอ ลักษณะของเรื่องก็คือ เรื่องใดที่มีใจความประกอบมากถาเราเก็บ เฉพาะใจความ
ส าคัญก็ยอไดสั้น ถาเก็บใจความประกอบที่จ าเปนดวย อัตราสวนความยาวจะเพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงไมมีเกณฑก าหนด
เรื่องอัตราสวนของยอความ
6. เปลี่ยนค าสรรพนามจากบุรุษที่ 1 บุรุษที่ 2 เปนบุรุษที่ 3 เพราะผูยอทาหนาที่เลาตอและ เครื่องหมาย
ใด ๆ ที่มีอยูในขอความเดิม จะไมใชในยอความ เชน มาลีพูดวา “พอมาแลว” เปลี่ยนเปน เธอพูดวาพอมาแลว
คือ ใหยอรวมกันไป ไมแยกกลาวหรือขึ้นบรรทัดใหม
7. ใชถอยค าภาษางาย ๆ ไดใจความชัดเจน เชน อันมวลบุปผามาลีอยูในไพรสนฑเปลี่ยนเปน ดอกไมอยู
ในปา แตถามีค าราชาศัพทยังคงใชอยู
8. เลือกใชค าไดความหมายครอบคลุม เชน เพื่อกลาวถึงหนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน ควรใช ค าวา
“สื่อสารมวลชน” แทน หรือเมื่อกลาวถึงสมุด ดินสอ ปากกา ยางลบ ไมบรรทัด ควรใชค าวา “เครื่องเขียน” แทน
เปนตน
ี่
9. ไมใชอักษรยอ หรือค ายอ เวนแตอักษรยอ หรือค ายอนั้นเปนทเขาใจและยอมรับใชกันทั่วไป แลว เชน
พ.ศ. ร.ส.พ. ส.ป.อ. ฯลฯ
10. ขอความที่ยอแลวใหเขียนตอเนื่องกันโดยใชค าเชื่อม เพื่อใหความกระชับไมเยิ่นเยอ แตขอความที่ไม
ี
สัมพันธกันใหยอหนาเปนตอน ๆ 11. การยอความเปนรอยกรอง ก็ใชวิธเดียวกับรอยแกว แตเปลี่ยนขอความ
จากรอยกรอง เปนรอยแกวธรรมดากอน