Page 2 - การใชเครื่องหมายวรรคตอนและอักษร พท31001
P. 2
ใบความรู้
การใชเครื่องหมายวรรคตอนและอักษรยอ
การใชเครื่องหมายวรรคตอน
ภาษาไทยมีวิธีการเขียนค าติดตอกันไป เมื่อจบขอความแลวจึงเวนวรรค ดังนั้น ในการเขียน หนังสือจึงตองมีการแบ
งวรรคตอนและใชเครื่องหมายวรรคตอนประกอบการเขียนใหถูกตอง เพอชวยใหเขาใจความหมายไดอยางชัดเจนไมผิดเพี้ยน
ื่
ไปจากวัตถุประสงค์
ล าดับที่ เครื่องหมาย ชื่อ วิธีใช
1 , จุลภาค เปนเครื่องหมายที่น ามาใชตามแบบภาษาอังกฤษ
แตตามปกติภาษาไทยใช้เวนวรรคแทนเครื่องหมาย
จุลภาคอยูแลว จึงไมจ าเปนตองใชเครื่องหมาย
จุลภาคอีก ตัวอยาง เขาชอบรับประทานผักกาด
ผักคะนา ตนหอม กะหล่ าปลี ถาเปนประโยค
ภาษาอังกฤษจะใชเครื่องหมาย ดังนี้ เขาชอบ
รับประทานผักกาด, ผักคะนา, ตนหอม,
2. ? ปรัศนี หรือ เครื่องหมาย ใชเขียนไวหลังค า หรือขอความที่เปนค าถาม ถาไม
ค าถาม ใชถามโดยตรงไมตองใสเครื่องหมายปรัศนี
ตัวอยาง ใคร? ใครครับ? (ค าถาม)
ฉันไมทราบวาเขามาหาใคร (บอกเลา)
เธอชอบอานหนังสือนวนิยายไหม? (ค าถาม)
ฉันไมทราบวาจะท าอยางไรใหเธอเชื่อฉัน (บอกเลา)
3 ! อัศเจรีย์ เปนเครื่องหมายแสดงความประหลาดใจ
มหัศจรรยใจใชเขียนหลังค าอทาน หรือขอความ ที่
ุ
มีลักษณะคลายค าอุทาน เพื่อใหผูอานออกเสียง ได
ถูกตองกับความเปนจริง และเหมาะสมกับ เหตุ
การณที่เกิดขึ้น เชน ดีใจ เสียใจ เศราใจ แปลกใจ
ตัวอยาง “โอโฮ! เธอขับรถไปถึงสงขลาคนเดียว
หรือ” แปลกใจ “อนิจจา! ท าไมเขาถึงเคราะห์
ร้าอยางนั้น” สลดใจ
4 (............) นขลิขิต หรือ ใชเขียนครอมความที่เปนค าอธิบาย ซึ่งไมควรมี ใน
เครื่องหมาย วงเล็บ เนื้อเรื่อง แตผูเขียนตองการใหผูอานเขาใจหรือ
ทราบขอความนั้นเปนพิเศษ เชน ตัวอยาง สมัย
โบราณ คนไทยจารึกพระธรรมลงในกระดาษ เพลา
ี่
(กระดาษทคนไทยท าขึ้นใชเอง โดยมากท า จาก
เปลือกขอย บางครั้งเรียกวากระดาษขอย)