Page 41 - สปาเพื่อสุขภาพ
P. 41
25
ความเจ็บปวดในผู้ป่วยมะเร็งครั้งละ 30 นาที ในขณะที่ program ของผู้ป่วย oncology ใน ICU นิยม
น้าเพลงมาเปิดให้ผู้ป่วยฟัง 30 นาทีทุกเช้า-เย็น
อย่างไรก็ตาม ดนตรีสามารถช่วยลดความเจ็บปวดได้ถึงจุดหนึ่ง และเป็นเวลาชั่วคราว จึง
จ้าเป็นต้องฟงตามอาการเป็นประจ้า ซึ่งการฟงเพลงร่วมกับการใช้เทคนิคผ่อนคลายเป็นสิ่งที่ควร
ั
ั
ส่งเสริมเนื่องจาก เป็นการลงทุนที่ต่้า แต่ได้ประโยชน์สูงมาก ไม่มีพษภัยและใช้ได้อย่างอสระได้มี
ิ
ิ
ผู้เขียนแนะน้าวิธีการใช้เทคนิคผ่อนคลาย ไว้หลายวิธี แต่สามารถสรุปได้อย่างคร่าวๆ ว่าวิธีการ
ดังกล่าว คือ ให้ผู้ป่วยหลับตาสงบนิ่ง ปล่อยร่างกายทุกส่วนให้ผ่อนคลาย ไม่เกร็ง ให้เกิดความรู้สึก
คลายตัวของกล้ามเนื้อตั้งแต่เท้าจนถึงใบหน้า พยายามควบคุมลมหายใจ ให้ราบเรียบ ไม่มีเสียงดัง
ในขณะหายใจเข้า-ออก ลึกๆ-ยาวๆ อย่างช้าๆ นับ 1-2-3 ขณะหายใจเข้า หยุดนิ่งและหายใจออก ท้า
ึ
ในจังหวะสม่้าเสมอ อาจให้นึกถงภาพที่ท้าให้มีความสุข ค้าพดที่ดีๆ ที่ช่วยให้เกิดความสงบ เจ้าหน้าที่
ู
อยู่ใกล้ๆ คอยช่วยสอนแนะน้าและเตือนให้ผ่อนคลาย มีรายงานว่าเทคนิคการผ่อนคลายจะช่วยลด
ความเครียดและลดความเจ็บปวดได้ในขณะ ที่ใช้เทคนิคการผ่อนคลาย อาจมีประคบความร้อน หรือ
ความเย็นตามความเหมาะสม หรือช่วยบีบนวดเพอคลายปวดได้อกด้วย และที่ส้าคัญคืออย่าลืมใช้
ี
ื่
ดนตรีร่วมด้วยจะสามารถเบี่ยงเบนความสนใจท้าให้ผ่อน คลายได้มากขึ้น
ั
ื่
นอกจากการให้ผู้ป่วยฟงดนตรีแล้วยังสามารถให้ผู้ป่วยท้ากิจกรรมดนตรีอนๆ ได้ตาม
ความสามารถของแต่ละคน เช่น การเปล่งเสียงร้องฮมตามเพลง เพอคลายความเครียด ความวิตก
ื่
ั
ื่
กังวล การเคาะจังหวะการตบมือ เพอสร้างสมาธิ การเล่นดนตรี อาทิเช่นเครื่องเป่า เพอระบาย
ื่
ความรู้สึกท้าให้สบายขึ้นหรือการร่วมกจกรรมดนตรีเป็นกลุ่ม เพื่อสร้างความสัมพนธ์ที่ดีระหว่างผู้ป่วย
ั
ิ
ู
และผู้รักษา เป็นต้น โดยเฉพาะผู้รักษาควรเรียนรู้วิธีการใช้เสียงพดที่นุ่มนวล ราบเรียบไม่ดังมาก จะ
ช่วยให้ผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการฝึกยิ่งขึ้น (ศูนย์โกลเด้นไลฟ์ เนอร์สซิ่งโฮม, 2563: ออนไลน์)
ภาพที่ 13 เพลงที่ใช้เปิดระหว่างท้าสปา
(“มนต์สปาบ้านทุ่ง”, ม.ป.ป. : ออนไลน์)