Page 76 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 76
บทที่ 9 : ไมยางพารา
ั
ไมยางพาราแมเปนผลพลอยไดจากการตดโคนตนยางเกาเพื่อปลูกแทน
แตสามารถทํารายไดจํานวนมากแกเกษตรกรและประเทศชาต สืบเนองจากความ
ิ
ื่
ิ
ั
ุ
ั
ตองการใชไมยางพาราทั้งในดานเปนวตถดบในการแปรรูป เปนผลิตภณฑตางๆ
หรือความตองการใชเนื้อไมโดยตรงยังคงมีอย และมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้เพราะ
ู
ิ
ไมยางพารามีคุณสมบัติเฉพาะตัว และมีความสวยงาม เฟอรนเจอรและเครื่องเรือน
ที่ทําจากไมยางพารา มักไดรับการตอบรับจากผูใชทั้งในประเทศและตางประเทศ
ุ
คอนขางดี เพราะผูใชรูดีวา ไมยางพารามาจากตนพืชที่มนษยปลูกสรางขนมา ดวย
ึ้
เหตุผลดังกลาว การใชไมยางพาราถือเปนการชวยรักษาสิ่งแวดลอม และชวยลดการ
ตัดไมทําลายปาในเขตรอนดวย
อุตสาหกรรมไมยางพาราในประเทศไทยมีความเกี่ยวเนื่องตั้งแตเกษตรกรที่
ุ
ประสงคจะโคนปลูกยางเพื่อปลูกทดแทนยางเกา หนากรีดเสียหาย หรือมีอายกรีด
มากกวา 25 ป เสนอขายไมยาง ณ ที่ตั้งสวน โดยผูรับซื้อจากเกษตรกรจะทําการโคน
ตนยางหลังจากขอเสนอราคาไมยางเปนที่พอใจทั้งสองฝาย โดยที่ราคาไมยางจาก
ุ
ู
ึ้
แปลงเกษตรกรขนอยกับปจจัยตางๆ เชนปริมาณไม คณภาพไม การขนสงและ
สภาพแวดลอม หลังจากนั้นผูรับซื้อนําไปแปรรูปเปนไมทอน
ปจจุบันมีการรับรองดานปาไมเปนกลไกภาคความสมัครใจ ซึ่งเปน
ื่
ั้
ขอกําหนดของลูกคาที่ตองการความเชอมั่นวาไมและผลิตภณฑจากไมนนมี
ั
ื
ั
ื่
แหลงที่มาที่นาเชอถอสามารถตรวจสอบได ดงนนจึงเรียกวาภาคสมัครใจ
ั้
ิ
(Voluntary sector) ในภาคปาไมนยมเรียกกันวา VPA: Voluntary
Partnership Agreements หรือขอตกลงการเปนหุนสวนภาคสมัครใจ
ประเด็นก็คือ ผูขายหรือผูตองการจะขาย นั้นจะตองยอมรับในเงื่อนไขของผูซื้อ
เปนสําคญ ในการจัดทําระบบตรวจสอบยอนกลับหรือระบบการรับรอง
ั
การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม หนา 72