Page 39 - TEMCA Magazine ฉบับที่ 1 ปีที่ 29
P. 39
สมองใสไฮเทค
หวั ขอ้ การปรบั ปรงุ ความตา้ นทานดนิ เพอ่ื ทาํา ใหส้ ามารถลดความ ต้านดินให้ไม่เกิน 10 โอห์มตามที่มาตรฐานกําาหนด หลังจากทําาการ ศกึ ษาและนาํา ขอ้ มลู ทใ่ี กลเ้ คยี งความเปน็ จรงิ รวมถงึ พารามเิ ตอรต์ า่ งๆ ในการจําาลองรูปแบบตามลําาดับการต่อลงดินการแก้ไขสามารถสรุป ได้ดังน้ี
3.2.2.1 การเพิ่มความยาวแท่งหลักดิน สามารถช่วยลดความต้าน ทานดินได้ในทางวิศวกรรม เน่ืองจากเม่ือเพ่ิมความยาว แท่งหลักดินลงไปพบว่าเปอร์เซ็นต์การลดลงของความต้าน ทานดนิ (Reduction) ยง่ิ ความยาวแทง่ หลกั ดนิ ลกึ ลงไปมาก เท่าไหร่ แนวโน้มของค่าความต้านทานดินย่ิงมีค่าลดลง มากเท่าน้ัน
รูปท่ี 3.5 กราฟแสดงผลระหว่างความยาวแท่งหลักดิน (Ground Rod) กับ ค่า ความต้านทานดิน (Resistance Value)
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจําานวนแท่งหลักดิน (Ground Rod) และ
รูปที่ 3.7
ค่าความต้านทานจําาเพาะของดิน (Soil Resistivity)
3.2.2.3 การเพม่ิ ขนาดของแทง่ หลกั ดนิ โดยจากการศกึ ษาพบวา่ อาจ จะไมไ่ ดม้ สี ว่ นทช่ี ว่ ยทาํา ใหค้ า่ ความตา้ นทานดนิ ลดลงอยา่ งมี นยั สาํา คญั แตจ่ ะมสี ว่ นชว่ ยในดา้ นกระแสลดั วงจรทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ไดแ้ ละชว่ ยเพม่ิ ความแขง็ แรงใหก้ บั แทง่ หลกั ดนิ
รูปท่ี 3.8
และค่าความต้านทานจําาเพาะของดิน (Soil Resistivity)
รูปที่ 3.6
%Reduction และ %Resistance
3.2.2.4 การเพม่ิ ขนาดความยาวของตวั นาํา รากสายดนิ (Counterpoise) โดยทาํา การจาํา ลองในแตล่ ะลาํา ดบั ขน้ั (Step) การตอ่ ลงดนิ จากข้อมูลของกฟผ.พบว่าค่าความต้านทานดินมีค่าลดลง เม่ือทําาการเพ่ิมความยาวของตัวนําารากสายดินสามารถ ปรับปรุงค่าความต้านทานได้เน่ืองจากทําาให้มีการกระจาย กระแสลงสดู่ นิ ทด่ี ขี น้ึ
ISSUE1•VOLUME29 MAY-JULY2022
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความยาวแท่งหลักดิน (Ground Rod),
3.2.2.2 การเพิ่มจําานวนแท่งหลักดิน ในการต่อลงดินถ้าทําาการเพ่ิม จําานวนของแท่งหลักดินไปจะช่วยลดค่าความต้านทานดิน ได้ เนื่องจากจะมีการกระจายกระแสที่ไหลผ่านแท่งหลัก ดินส่งผลให้กระจายลงสู่ดินได้ดีขึ้น ได้ทําาการพิสูจน์นําาสูตร โดยคําานวณที่มีทดลองใส่ค่าพารามิเตอร์ที่ใกล้เคียงกับค่า ของสถานประกอบการที่สามารถวัดได้ที่แสดงดังกราฟใน รูปต่อไปน้ี
39
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างการเพ่ิมขนาดของแท่งหลักดิน (Ground Rod)