Page 37 - TEMCA Magazine ฉบับที่ 1 ปีที่ 29
P. 37

                                 สมองใสไฮเทค
 ผ ล ง า น นั ก ศึ ก ษ า
การศึกษาและการออกแบบเบื้องต้น
เกี่ยวกับวิศวกรรมสายส่ง
Engineering Study Covering the Basic Design of High-Voltage Transmission Line นางสาวทิฆัมพร ท่าฉลาด คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  3.2.1.6 ตัวเช่ือมแบบบีบ (Compression Type Connector) ตาม มาตรฐานแลว้ ไดเ้ พม่ิ ขอ้ มลู อา้ งองิ ถงึ มาตรฐาน UL 467 และ IEC 62561 Part 1 ในหัวข้อน้ีได้ทําาการเสนอให้นําาไปอยู่ใน หัวข้อการเช่ือมด้วยความร้อน (Exothermic Welding) เนื่องจากวิธีการใช้งานมีความคล้ายคลึงกัน หลังจากทําา การศึกษารูปแบบและการใช้งานเช่น Copper C-Clamp ท่ี ยังมีการใช้งานอยู่ในบางกรณีของงานระบบส่ง ได้ทําาการ ระบุข้อมูลให้วัสดุที่ใช้ผลิตควรเป็น Copper Alloy เนื่องจาก ภาพรวมของคุณสมบัติที่คงทนและในเรื่องความคุ้มค่าและ คุณสมบัติอ่ืนๆ
3.2.1.7 การประทับตรา (Marking) ได้ระบุมาตรฐานควรเป็นไปตาม NEMA GR1, IEC 62561 Part 2 และมอก. (TISI) ท้ังใน เชิงวิธีการทําาสัญลักษณ์และวิธีการทดสอบที่จะต้องเป็นไป ตามการทดสอบ (Marking Test) ท่ีระบุไว้ในมาตรฐาน IEC 62561 Part 2
3.2.1.8ผงลดความตา้นทานดนิ (GroundEnhancingMaterial)เปน็ หวั ขอ้ ซง่ึ แตเ่ ดมิ ทไ่ี มไ่ ดม้ ใี นมาตรฐานของสถานประกอบการ แต่ได้ทําาการเสนอการเพ่ิมรายละเอียดไปในเรื่องของผงลด ความต้านทานดินซึ่งจะเป็นทางเลือกในการใช้งานในบาง พน้ื ท่ี รวมถงึ สามารถปรบั ปรงุ ใหส้ ามารถใชง้ านไดอ้ ยา่ งเตม็ ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยมาตรฐานที่มีการระบุการใช้ งานคือมาตรฐาน IEEE 80 และ IEC 62561 Part 7 ที่ สามารถเป็นแนวทางในการเพิ่มหัวข้อนี้ได้
3.2.1.9 อุปกรณ์เสริม (Accessories) เป็นหัวข้อที่ทําาการเพ่ิมเติมข้ึน มา เน่ืองจากเหตุผลพบว่าเม่ือทําาการศึกษาข้อมูลอุปกรณ์ หลักที่ใช้ในงานระบบส่ง อุปกรณ์ทุกชิ้นจะมีอุปกรณ์เสริม ในการติดต้ังเกือบท้ังหมด จึงตระหนักได้ว่าอุปกรณ์เสริม เป็นสิ่งสําาคัญเพ่ือท่ีจะช่วยให้การใช้งานของอุปกรณ์เกิด ประสิทธิภาพและเป็นประโยชน์ในด้านต่างๆ มากย่ิงข้ึน ฉะนั้นเห็นควรว่าจะต้องมีหัวข้ออุปกรณ์เสริมแยกออกมา
เป็นการระบุรายละเอียดสําาหรับในหัวข้อนี้ โดยจากที่ทําา สืบค้นข้อมูลมาตรฐานที่จะสามารถอ้างอิงถึงคุณสมบัติและ วิธีการทดสอบได้ เช่น มาตรฐาน UL 467, IEEE 837 เป็นต้น
3.2.1.10 การสุ่มตัวอย่างการทดสอบ (Sampling Tests) หัวข้อท่ีได้ ทําาการเสริมข้ึนมาหลังจากได้ศึกษาวิธีการทดสอบของ อุปกรณ์แต่ละชนิด หัวข้อวิธีการทดสอบในบางอุปกรณ์ สามารถหาความสัมพันธ์ที่มีวิธีการคล้ายคลึงกันได้ ซึ่งส่วน ใหญ่จะอยู่ภายใต้หัวข้อการทดสอบที่ใกล้เคียงกัน แต่เร่ือง ตัวอย่างการทดสอบ (Specimens) จะแตกต่างกันออกไป ตามความเหมาะสมของอุปกรณ์นั้นๆ จึงได้ทําาการเสนอ หัวข้อการสุ่มตัวอย่างการทดสอบและศึกษาจากมาตรฐาน รวมถึงข้อเสนอแนะของบริษัทที่ทําาการทดสอบจึงสรุป อ้างอิงมาตรฐานได้ช่น TISI 465-1 or MIL-STD-105E หรือ เห็นตามความเหมาะสมและข้อตกลงระหว่างทางสถาน ประกอบการและบริษัทผู้ผลิต
   ISSUE1•VOLUME29 37 MAY-JULY2022
 ต่อจากฉบับท่ี 4/28 ตอนจบ
 





















































































   35   36   37   38   39