Page 35 - TEMCA Magazine ฉบับที่ 1 ปีที่ 29
P. 35

                                 คิดจะทําามาก่อนหน้าโควิดจะมา และได้เร่ิมใช้ มาก่อนหน้าสักระยะหน่ึงมาแล้ว ขณะเดียวกัน เราต้องเตรียมเรื่องการก่อสร้างที่ทําาการสภา วิศวกรแห่งใหม่ด้วย ก็เกิดโอกาสที่ดีขึ้นว่าเรา จะย้ายท่ีใหม่แล้วก็มองว่าเราควรจะต้องมี Backbone ในสว่ นของฐานขอ้ มลู การเชอ่ื มโยง ของข้อมูลต่างๆ เพ่ือท่ีจะใช้งานได้เป็น One stop service กค็ อื การสรา้ งตวั Digital platform กถ็ อื เปน็ การปรบั ปรงุ ระบบการทาํา งาน และเน้นในเร่ืองของการจัดการสําานักงานสภา วิศวกรยุคใหม่ เน้นการสร้างการใช้ประโยชน์ พื้นที่ร่วมกัน (Co-working space) ระบบ ดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการองค์กร ระบบ ธรรมภิบาลในการบริหารงาน ส่วนภารกิจที่ ต้องทําาต่อไปคือ การยกระดับประกอบวิชาชีพ การเชื่อมโยงในเรื่องของมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการประกอบวิชาชีพตามกรอบความ สามารถในการประกอบวิชาชีพ (Engineering Competency Framwork) ซึ่งปัจจุบันก็ปรับ เปลี่ยนมาใช้กับการสอบเล่ือนระดับสามัญ วิศวกรและระดับวุฒิวิศวกร และการเข้าสู่ กระบวนการสอบรับใบอนุญาตระดับภาคี แต่ เดิมเรามีการสอบ แต่หลังจากนี้ไปก็จะให้มี โอกาสได้เลือก โดยจะเลือกสอบหรือไม่เลือก สอบก็ได้ ซึ่งตอนนี้ได้ผ่านที่ประชุมใหญ่แล้ว และรอออกเป็นกฎหมายต่อไป
หลักในการทําางานเราจะมีอีกส่วนหนึ่งใน Roadmap คือเรื่องของ Networking และ Public caring ซึ่งเราเน้นส่งเสริมในเรื่องของ นิติบุคคลที่จะเข้ามาเป็นสมาชิก เน้นการร่วม มือกับสมาคมวิชาชีพอ่ืนๆ ซ่ึงเราจะสร้างความ เข้มแข็งให้กับตัววิศวกรและวิชาชีพของเรา ส่วนปณิธานในการทําางานเราได้คุยกันตั้งแต่ วันท่ีรับตําาแหน่งนายกสภาวิศวกร ว่า เราจะใช้ หลักการทําางานตามพระราชดําารัสของใน หลวงรัชกาลที่ 9 โดยย่อมาที่ว่า “ทุกคนต้อง มีความตั้งใจจริงและขยันหมั่นเพียร ถือ ประโยชน์ส่วนรวมเป็นจุดประสงค์สําาคัญ” (ที่ มา: พิธีพระราชทานพระพุทธนวราชบพิตร ประจําาจังหวัดน่าน วันท่ี 10 มีนาคม 2512)
การออกใบอนุญาตสําาหรับผู้ท่ีเรียนจบ จากต่างประเทศเป็นอย่างไร?
สภาวิศวกรในสมัยท่ี 7 น้ี เรามีการปรับปรุง
ให้เป็นสากลมากข้ึน ซ่ึงมีคณะอนุกรรมการ ด้านต่างประเทศ และคณะอนุกรรมการรับรอง มาตรฐานคุณภาพการศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ (TABEE) ช่วยดูแลอยู่ สําาหรับผู้จบจากต่าง ประเทศมา เรากจ็ ะใหค้ วามสาํา คญั ตามหลกั การ เดียวกัน ภายใต้ข้อตกลงร่วมกัน Washington Accord ท่ีเป็นข้อตกลงร่วมกันระดับสากล ระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบการรับรอง มาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษาหลกั สตู รวศิ วกรรม ศาสตร์ ท่ีให้เป็นกรอบคุณภาพการศึกษาวิศว กรรมศาสตร์สําาหรับการเคล่ือนย้ายวิศวกรใน ระดับนานาชาติ ท้ังนี้หากหน่วยงาน TABEE ได้รับการตอบรับในการเข้าร่วมเป็นสมาชิก ในข้อตกลง Washington Accord แล้ว จะ ทําาให้หลักสูตรท่ีได้รับการรับรองจาก TABEE เป็นที่ยอมรับในระดับสากลว่าหลักสูตรน้ันมี คุณภาพตามข้อกําาหนดการรับรองมาตรฐาน คุณภาพการศึกษาวิศวกรรมศาสตร์และได้รับ การยอมรบั ดา้ นคณุ ภาพการศกึ ษาจากประเทศ
เครอื ขา่ ยตา่ งประเทศ ภายใตข้ อ้ ตกลงในระดบั นานาชาติร่วมกันท้ังในประชาคมอาเซียน และประชาคมโลก ดังนั้นถ้าหลักสูตรของผู้ท่ี เรียนจบจากต่างประเทศนั้น ได้รับการรับรอง มาตรฐานคุณภาพการศึกษา (ในช่วงเวลาท่ีได้ รบั การรบั รองฯ) ผทู้ ส่ี าํา เรจ็ การศกึ ษาจากสถาบนั การศึกษาที่ได้รับการรับรองนั้น จะสามารถขอ การยอมรับการรับรองมาตรฐานคุณภาพการ ศึกษาจากสภาวิศวกรเพื่อขอรับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมได้ ตามข้อ บังคับสภาวิศวกรฯ ท่ีมีการประกาศใช้ตาม กฎหมายอย่างเป็นทางการ
อาคารสําานักงานสภาวิศวกรแห่งใหม่ เป็นอย่างไร?
อาคารแห่งใหม่ของสภาวิศวกรมีหลาย เรื่องท่ีน่าสนใจ ต้ังแต่การออกแบบ เราใช้ สถาปตั ยกรรมแบบรว่ มสมยั เนน้ การเปน็ อาคาร เขียว อาคารประหยัดพลังงาน และปูนที่นําามา
ก่อสร้างเรียกว่า ปูนไฮดรอลิก ซ่ึงผลิตจาก กระบวนการ Law carbondioxide ใชก้ ระบวน การผลิตที่สามารถจะคิดคืนคาร์บอนเครดิต (Carbon Credit) กลับมาได้ด้วย ช่วยลดภาวะ โลกร้อน ลดภาวะเรือนกระจกได้ เป็นจุดเด่น หนึ่งของอาคารสภาวิศวกรแห่งใหม่นี้ เรายัง มองไปถึงการสร้าง Co-Working Space เพ่ือ ให้เกิดการใช้ร่วมกันของพ้นื ท่ใี ห้เป็นประโยชน์ สูงสุด โดยเราได้รับความร่วมมือจากหลายๆ สมาคมท่ีมาอยู่รวมกันเพื่อสร้างความเป็น ครอบครัวใหญ่ของวิศวกร ซ่ึงส่วนของอาคาร ด้านบนก็จะเป็นเร่ืองของโซลาร์รูฟ การเก็บ พลังงาน การประหยัดพลังงาน และการใช้ พลังงานทดแทน ในส่วนของพ้ืนที่ต่างๆ เราก็
ชุ ม ช น ช่ า ง เ ห ม า
   สมาชิกกลุ่ม Washington Accord และเป็นท่ี ยอมรับจากนานาประเทศว่าผู้สําาเร็จการศึกษา มีความรู้ความสามารถทางวิศวกรรมท่ีสอด คล้องกับข้อกําาหนดของการประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมข้ามชาติ เพื่อส่งเสริมให้สถาบัน อุดมศึกษาไทยยกระดับคุณภาพการจัดการ ศึกษาในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ให้เป็นที่ ยอมรับในระดับสากล ผลักดันให้หลักสูตร วิศวกรรมศาสตร์ไทยสามารถผลิตบัณฑิตที่มี ทักษะและสมรรถนะในการทําางานตรงตาม ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และขอ้ กาํา หนด ในการประกอบวิชาชีพระดับสากลและ สามารถเคลื่อนย้ายไปทําางานได้ท่ัวโลก นอกจากนี้ยังเป็นช่องทางในการสร้างภาคี
ISSUE1•VOLUME29 35 MAY-JULY2022























































































   33   34   35   36   37