Page 33 - TEMCA Magazine ฉบับที่ 1 ปีที่ 29
P. 33

                                 ชุ ม ช น ช่ า ง เ ห ม า
 ของสภาวิศวกรมองภาพเดียวกัน เข้าใจร่วม กัน มีการส่อื สารร่วมกันด้วยเน้อื ความเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งทีมบริหารสภาวิศวกรมี ความต้องการเห็นความสําาเร็จอะไรบ้างให้กับ ประเทศไทยท่ีตรงกันเหมือนกัน ทุกคนมั่นใจ และเช่ือว่างานทางด้านวิศวกรรมเป็นตัวขับ เคล่ือนระบบงานต่างๆ ของประเทศและตรงนี้ สภาวิศวกรจะทําาต้องอย่างไรท่ีเข้ามามีส่วน ร่วมกับภารกิจท่ีสําาคัญที่ว่านี้ ซ่ึงระบบงาน วศิ วกรรมกค็ อื ระบบงานทท่ี าํา เปน็ ทมี เปน็ ระบบ และใช้ในเรื่องของความรู้ความสามารถด้าน วศิ วกรรมศาสตรท์ กุ แขนง มาบรู ณาการรว่ มกบั การใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีต่างๆ ในการ ขับเคลื่อนและบริหารจัดการงานแต่ละ โครงการให้เป็นไปตามแผนงาน ผมสามารถ เดินหน้าการทําางานและขับเคลื่อนงานสภา วิศวกร สมัยท่ี 7 ได้สะดวกและมีผลสําาเร็จเป็น อย่างดีมาก ตาม Roadmap ที่วางไว้ ซึ่งมี ภารกิจที่สําาคัญ 4 เรื่องหลักๆ ได้แก่
เร่ืองท่ีหนึ่ง เรื่องที่เกี่ยวกับสถาบันการ ศึกษา ซึ่งเป็นต้นนํา้า (Upstream) สภาวิศวกร เชอ่ื มตอ่ กบั ภาคการศกึ ษา โดยเฉพาะการรบั รอง หลกัสตูรกอ่นหนา้สมยัท่ี7เขา้มาเราจะมเีรอ่ืง ของรัฐธรรมนูญ มาตรา 40 ที่ว่า “สภาวิชาชีพ ไมค่ วรทจ่ี ะเขา้ ไปกา้ วกา่ ยกบั การจดั การศกึ ษา ของสถาบันการศึกษา” ดังนั้นในส่วนตรงนี้เรา ก็แก้ไขโดยดึงการมีส่วนร่วมจากสถาบันการ ศึกษาเข้ามาเป็นหุ้นส่วน เป็นพันธมิตรเดียวกัน ในกระบวนการผลิตวิศวกรให้กับประเทศ พอ เป็นอย่างน้ีเราเชิญทางสถาบันการศึกษาเข้า มาร่วมประชุมกลุ่มเป้าหมาย (Fucus-group meeting) และประชุมร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย (Stakeholder meeting) เพ่ือให้ข้อมูล ต่างๆ และเน้นการมีส่วนร่วมต้ังแต่ต้นในการ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดข้ึนในลําาดับถัดต่อๆ ไป ส่ิงที่เราต้องการทําาร่วมกันก็คือ “องค์ความรู้” ที่จะเกิดขึ้น ที่บัณฑิตจะมีสมรรถนะในการ ทําางาน (Competency); ทักษะในการทําางาน (Skill); ชุดของความคิดจิตใจความเช่ือที่ส่ง ผลต่อพฤติกรรม (Mindset); และวัฒนธรรม (Culture) ท่ีวิศวกรหรือบริษัทผู้ใช้บัณฑิตต้อง การ มีอะไรบ้างแล้วก็ใช้คําาตอบจากผู้ท่ีใช้ บณั ฑติ ใชค้ าํา ตอบจากปลายทางนม้ี าเปน็ คนให้ โจทย์กับสถาบันการศึกษา ฉะนั้นเราทําางาน
ร่วมกันในเรื่องของการบังคับน้ันยกเลิกไปเลย
“เราเปลี่ยนจากการบังคับมาเป็นเรื่องของ การส่งเสริมแทน” โดยท่ี ถ้าสถาบันการศึกษา ทําาแบบนี้ หลักสูตรได้รับการยอมรับโดยมี องค์ความรู้ 3 องค์หลักๆ คือ องค์ความรู้พื้น ฐานด้านวิทยาศาสตร์ องค์ความรู้พื้นฐานด้าน วิศวกรรมศาสตร์ และองค์ความรู้เฉพาะทาง วิศวกรรมศาสตร์ ถ้าองค์ความรู้เหล่านี้ครบ สภาวิศวกรก็ให้การรับรอง ถือว่าท่ีผ่านมาเรา ประสบความสําาเร็จในการดําาเนินงานตรงน้ี มากกว่า 90% ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจาก ระบบการรับรองปริญญาแบบ Input-Based ที่ ใช้การพิจารณาตามรายวิชา มาเป็นระบบการ รับรองแบบ Outcome-Based โดยการรับรอง ด้วยองค์ความรู้ เพื่อเน้นการไม่ก้าวก่ายการ จัดการศึกษาของสถาบันการศึกษา และยก ระดับการเข้าสู่การประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ตามกรอบมาตรฐานสากลของพันธมิตร วิศวกรรมระหว่างประเทศ (International Engineering Alliance) โดยเช่ือมประสาน เครือข่ายความร่วมมือกับกระทรวงการอุดม ศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.); ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.); สภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศ ไทย (สควท.); และสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (ส.อ.ท.)
เรื่องที่สอง เร่ืองที่เก่ียวกับการยกระดับ ความสามารถในการประกอบวชิ าชพี วศิ วกรรม ของวิศวกรไทย โดยการพัฒนาและประกาศ การใช้งานกรอบความสามารถการประกอบ วิชาชีพวิศวกรรม (Engineering Competency Framework) หลักการ แนวทางปฏิบัติข้อ กําาหนดกรอบความสามารถการประกอบ วิชาชีพมาตรฐานการให้บริการวิชาชีพ (Code of Services) มาตรฐานการประพฤติปฏิบัติ (Code of Conduct) และมาตรฐานการปฏิบัติ วชิ าชพี (Code of Practices) โดยเชอ่ื มประสาน เครือข่ายความร่วมมือกับกระทรวงมหาดไทย; กระทรวงการต่างประเทศ; กระทรวงแรงงาน; กระทรวงอุตสาหกรรม; กระทรวงดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคม; สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.); สมาคมวิชาชีพ วิศวกรรม; และสมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่ง ประเทศไทย
ISSUE1•VOLUME29 33 MAY-JULY2022
เรื่องท่ีสาม เร่ืองที่เกี่ยวกับต่างประเทศ โดยเร่งรัดการแก้ไขและปรับปรุงกลไกการ ประเมินผลความรู้ความสามารถและการข้ึน ทะเบียน วิศวกรเอเปค และวิศวกรอาเซียน เพื่อส่งเสริมการบริการวิชาชีพข้ามชาติของ วิศวกรไทย โดยเช่ือมประสานเครือข่ายความ ร่วมมือกับกระทรวงมหาดไทย; กระทรวงการ ต่างประเทศ; กระทรวงแรงงาน; กระทรวง อตุ สาหกรรม; และกระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม
เรื่องท่ีส่ี เร่ืองเกี่ยวกับระบบการบริหารจัด การองค์กรสภาวิศวกร เพ่ือให้เชื่อถือไว้วางใจ ได้และเป็นที่พ่ึงของสังคมไทย (Credible and Trusted Organization) โดยใช้กลไกการเปิด กว้างและเช่ือมโยงกัน (Open & Connected Organization) การยึดสมาชิกเป็นศูนย์กลาง (Member-Centric Organization) และการมี ขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & High Performance Organization) โดยผลักดันการ ปรับปรุงระบบสารสนเทศและเครือข่ายดิจิทัล แพลตฟอร์มแบบเปิดกว้าง (Openly digital platform) โดยเชื่อมประสานเครือข่ายความ ร่วมมือกับกระทรวงมหาดไทย; และกระทรวง ดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม และอกี งานทท่ี าํา ควบคู่กันไปซึ่งเป็นงานที่สําาคัญอีกภารกิจหนึ่ง คือเรื่องของความร่วมมือ เรื่องของพันธมิตร ในส่วนตรงนี้ผมให้ความสําาคัญค่อนข้างมาก สําาหรับนโยบายหลักของสภาวิศวกรเลยก็คือ Networking & Public caring โดยเน้นการ ส่งเสริมจิตอาสา จิตสาธารณะต่างๆ และเรา ก็ใช้ตรงนี้กลับเข้าไปสอนลูกศิษย์ของเราที่ มหาวิทยาลัย โดยดึงเอาทีมของลูกศิษย์เข้ามา ร่วมกันทําางานในเรื่องของวิศวกรอาสา ก็จะ ทําาให้เขาได้พัฒนา ได้เรียนรู้ ได้ทําาและใช้


























































































   31   32   33   34   35