Page 32 - TEMCA Magazine ฉบับที่ 1 ปีที่ 29
P. 32
ชุ ม ช น ช่ า ง เ ห ม า
ประวัติโดยสังเขป
ด้านการศึกษา ผมเป็นศิษย์เก่าของภาควิชาวิศวกรรมเคมี (ChemEng รุ่นท่ี 14) คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มดรุ่นที่ 28) สําาเร็จปริญญา ตรีวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี พ.ศ. 2534 สําาเร็จปริญญาโทวิศวกรรมศาสตร มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม คณะพลังงานและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2537 สําาเร็จปริญญาเอก Doctor of Engineering สาขา Water and Wastewater Engineering จาก Asian Institute of Technology (AIT) พ.ศ. 2542 หลังจากนั้น พ.ศ. 2546 ได้มีโอกาสไปเรียนหลักสูตรวิทยาลัยการทัพเรือ สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง (วทร.35 รุ่นเดียวกับ พล.ร.อ.ลือชัย รุดดิษฐ์ อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ) หลักสูตรผู้นําาการเมือง ยุคใหม่ รุ่นที่ 2 (นมป.2) สถาบันพระปกเกล้า พ.ศ. 2548 และหลักสูตรการบริหารความมั่นคง สําาหรับผู้บริหารระดับสูง (สวปอ.มส.SMLรุ่นที่ 3) พ.ศ. 2564 โดยเป็นประธานฝ่ายวิชาการของ นักศึกษารุ่น SML3
ด้านสายงานความเชี่ยวชาญ ผมอยู่ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี งาน
หลักๆ คือ งานสอน งานวิจัย งานบริการวิชาการ และงานกิจกรรมเพื่อสังคม โดยวิชาสอนหลัก คือ วิชา Chemical Plant Safety และวิชา Industrial Waste Treatment ส่วนความเช่ียวชาญด้านการงานวิจัยจะเป็นด้านความมั่นคงทางทรัพยากรนํา้า; การจัดการนํา้า; การปรับปรุงคุณภาพนํา้า; Membrane Technology; และ Water and Wastewater Engineering ได้มีโอกาสทําางานร่วมกับบริษัทใหญ่ๆ หลายบริษัท ซึ่งใช้ Membrane Technology ในระดับอุตสาหกรรม ใช้เยื่อ แผ่นทั้ง MF, UF, NF และ RO ในระบบการปรับปรุงคุณภาพน้ําาใช้ในอุตสาหกรรม
ส่วนอีกด้านความเชี่ยวชาญหนึ่งคือ งาน Process Safety ก็ได้ร่วมงานกับกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จ.ระยอง ในการจัดการสิ่งแวดล้อม โรงงานอุตสาหกรรม ระบบเมืองนิเวศอุตสาหกรรม และโรงงานสีเขียว ร่วมกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ กรมโรงงานอุตสาหกรรมโดยได้ร่วมทําางานกันมาอย่างยาวนาน ในส่วนงานบริการวิชาการและงานกิจกรรมเพื่อสังคม เป็นที่ปรึกษาการแก้ปัญหาอุตสาหกรรม วิศวกรรมเคมี วิศวกรรมความปลอดภัย และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เป็นวิทยากรบรรยายในหลายๆ หัวข้อวิชาการ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งมูลนิธิเพื่อภาควิชาวิศวกรรม เคมี มจธ. บางมด (เมื่อ 30 ธันวาคม พ.ศ.2558) เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งค่ายภาควิชาวิศวกรรมเคมี (Chemical Engineering Camp @ KMUTT : ChECK) เพื่อแนะนําา ภาควิชาและอาชีพวิศวกรเคมีและเพิ่มช่องทางการรับนักศึกษาเข้าเรียนต่อวิศวกรรมเคมี ตั้งแต่ พ.ศ.2557 ถึง พ.ศ.2564 เป็นผู้ริเริ่มโครงการค่าย ปิโตร ปตท. (PTT Petro Camp) ตั้งแต่ พ.ศ.2549 ถึง พ.ศ.2564 เพื่อเพิ่มช่องทางการรับนักศึกษาเข้าเรียนต่อที่ภาควิชาวิศวกรรมเคมี มจธ. โดยได้รับทุนสนับสนุนจาก ปตท. นอกจากนั้นยังเป็นกรรมการอําานวยการ และประธานสาขาวิศวกรรมเคมี วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (พ.ศ.2564-2565) เป็นกรรมการสมาคมวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต์แห่งประเทศไทย (พ.ศ.2558-ปัจจุบัน) และเคยเป็นกรรมการสมาคมนักศึกษาเก่ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี (ในพระบรมราชูปถัมภ์) (พ.ศ.2558-2560)
ด้านการบริหาร ผมเติบโตในสายวิชาการ โดยทําางานเป็นอาจารย์ เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ เป็นรองศาสตราจารย์ สําาหรับตําาแหน่งบริหาร เคยเป็นรอง
คณบดีฝ่ายวิชาการและหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เป็นกรรมการสภาวิศวกร เป็น อุปนายกสภาวิศวกร และปัจจุบันเป็นนายกสภาวิศวกร
การเข้ารับตําาแหน่งนายกสภาฯ ในวาระ น้ีเป็นมาอย่างไร?
จากที่ผมทําางานร่วมกับสภาวิศวกรมาตั้ง แต่สมัยท่ี 5 โดยเป็นอนุกรรมการฯ สาขาวิศว กรรมเคมี จากน้ันมาในสมัยท่ี 6 ได้รับเลือก ตั้งเป็นกรรมการสภาวิศวกร ก็ได้ศึกษาเรียนรู้ งานและระบบการบริหารจัดการงานของสภา วิศวกรพอสมควร พอมาสมัยที่ 7 ผมได้รับ เลือกเข้ามาอีกและได้เข้าร่วมในทีมบริหารของ สภาวิศวกร โดยมี ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ เป็นนายกสภาวิศวกร และผมเป็นอุปนายก สภาวิศวกรคนท่ี 1 ซ่ึงเป็นโอกาสท่ีดีมากได้ เป็น Policy Maker ในการจัดเตรียมแผนงาน และโครงสร้างการบริหารงานของสภาวิศวกร สมัยท่ี 7 โดยได้รับการสนับสนุนที่ดีเย่ียมจาก
คณะกรรมการสภาวิศวกรทุกท่านและเจ้าหน้า ที่สภาวิศวกรทุกฝ่าย พร้อมกันนั้นเลยได้เป็น ท้ัง Policy Maker และ Policy Driver ทําาให้ เห็นภาพใหญ่ ท่ีเป็นยุทธศาสตร์ชาติความ มั่นคงของประเทศไทย ในมุมของการยกระดับ วิศวกรไทยให้มีสมรรถนะสูงและมีมาตรฐาน สากล การเพม่ิ ขดี ความสามารถของวศิ วกรไทย ในการทาํา งานขา้ มชาติ และการสรา้ งสภาวศิ วกร ให้เป็น Openly Digital COET เพ่ือการขับ เคล่ือนงานวิศวกรรมของประเทศไทยร่มกับ ภาครัฐและภาคอุตสาหกรรมอย่างเต็มรูปแบบ อันจะเป็นภารกิจหลักๆ ของงานสภาวิศวกร
ที่จะช่วยพลิกโฉมประเทศไทย จนกระทั่งช่วง ก่อนวันท่ี 9 ธันวาคม 2564 ท่านนายกสภา วิศวกร ได้ลาออกเพื่อลงสมัครชิงผู้ว่าราชการ
ISSUE1•VOLUME29 32 MAY-JULY2022
กรุงเทพมหานครดังน้ันท่ีประชุมของกรรมการ สภาฯ เมื่อวันท่ี 9 ธันวาคม 2564 จึงได้มีมติ เลือกผม เพื่อดําารงตําาแหน่งนายกสภาวิศวกร ต่อจากท่าน ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสด์ิ ครับ
มีการสานงานต่ออย่างไร
เนื่องจากผมมีส่วนร่วมในการวางแผนการ จัดทําานโยบาย และการผลักดันนโยบายมาสู่ การปฏิบัติ มาต้ังแต่ต้นจึงเป็นโอกาสดีท่ีจะได้ มาสานต่อและขับเคลื่อนภารกิจยุทธศาสตร์ นโยบาย และแผนงานทั้งหมดของสภาวิศวกร ใหเ้ ดนิ หนา้ ตอ่ ไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ซง่ึ การขบั เคลอ่ื น งานของสภาวิศวกร สมัยที่ 7 มีแผนที่นําาทาง (Roadmap) อย่างชัดเจน มีวิสัยทัศน์ (Vision) พนั ธกจิ (Mission) เชน่ เดยี วกนั อกี ทง้ั ทมี บรหิ าร