Page 17 - TEMCA MAGAZINE ฉบับที่ 4 ปีที่ 28
P. 17
คั ม ภี ร์ อั ค คี ภั ย
ฟ้ืนฟูจากภัยพิบัติ โดยสมาชิกของชุมชนเป็นคนจัดการเอง โดยมี หลักว่า “มีแผน” “เตรียมพร้อม” “ซอ้ มประจาํา ” “ทาํา จนเปน็ นสิ ยั ” เพอ่ื นาํา ไปสกู่ ารเปน็ ชมุ ชนปลอดภยั อย่างย่ังยืนต่อไป
ขยายความ (Explanation)
ชุมชน (Community) ความหมายเปน็ หนว่ ยทาง สังคม (กลุ่มของส่ิงมีชีวิต) ซ่ึง มีส่วนร่วม(Commonality)เช่น แบบแผนสังคม, ศาสนา, ค่า นิยม, ประเพณีหรืออัตลักษณ์
เป็นจุดร่วมกัน ชุมชนอาจมีสําานึกร่วม
แห่งสถานที่อันตั้งอยู่ภายใน บริเวณทางภูมิศาสตร์บริเวณ หนึ่ง ฯลฯ
ภาษาอังกฤษของคําาว่า
ชุมชน คือ “Community” มาจากภาษาฝร่ังเศสเก่าว่า Comunete’ ซง่ึ มาจากภาษาละตนิ Communitas แปลวา่ “จติ วญิ ญาณสาธารณะ”
ความหมาย “ชุมชน” ในคําาจําากัดความของสมาคมฯ FARA คือ “บวรบาล” 4 ประสาน บ้าน วัด โรงเรียน โรงพยาบาล เพ่ือ คุณภาพชีวิตที่ดีของสังคม นําาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
บ้าน ท่ีอยู่อาศัย อาคารสูง โรงงาน สถานประกอบกิจการ โรงแรม ชุมชน แหล่งท่องเที่ยว (มาตรฐาน ASIA-SHE- CBDRM)
วัด ศาสนสถานทุกศาสนา สถานท่ีประกอบกิจกรรมด้าน ศาสนา ความเชื่อลัทธิ โรงเจ (มาตรฐาน ASIA-SHE- CBDRM)
โรงเรียน สถานศึกษา มหาวิทยาลัย โรงเรียนกวดวิชา สถานที่ดูแลเด็ก หอพักนักเรียน-นักศึกษา (มาตรฐาน ASIA-SHE-LNTB)
โรงพยาบาล สถานประกอบกิจการด้านสุขภาพ, คลินิก, โรง พยาบาลสนาม สถานที่มีผู้ป่วยจําานวนมาก (มาตรฐาน ASIA-SHE-HA)
ISSUE4•VOLUME28 F E B R U A R Y - A P R I L 2 0 2 2
กระบวนการเตรียมชุมชน บ้าน วัด โรงเรียน โรงพยาบาล (บวรบาล) เพื่อต้านภัยพิบัติ
ข้ันตอนการจัดการ CBDRM : ป้องกันภัยในชุมชนด้วยตนเอง 3 ขั้นตอน (3P พร้อม) คือ
1. สําารวจตรวจตรา (Patrol) • ศึกษาหาข้อมูลที่เกี่ยวกับความ เสี่ยงภัย และการนําาไปสู่ความปลอดภัยในชุมชน พร้อมจัด ทําาแผนการดําาเนินการ (Search : ค้นให้พบ)
2. จัดหาเครื่องมือ (Prepare) • จัดเตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ท่ี เหมาะสมทันสมัย และเพียงพอ
3. ฝึกปรือผู้ใช้(Practice)•อบรมฝึกฝนคนในชุมชนตามแผนที่ กําาหนด อย่างสมํา่าเสมอ และท่ัวถึง โดยยึดหลักการพ่ึงพา ความช่วยเหลือจากภายนอกให้น้อยที่สุด และให้มีความรู้ ความชําานาญอย่างเหมาะสมท่ีจะจัดการภัยให้ครอบคลุม (Rescue : จบทุกภัย)
ขยายความ (Explanation)
(1) สําารวจตรวจตรา (Patrol) เพื่อค้นให้พบ (Search) ทุกแง่ทุก มุมอย่างละเอียด เพื่อจัดทําาแผน
ข้ออ้างอิง (Reference) ประชุม Hyogo 2005-2015 (เมื่อ ม.ค. 2005 (2548) 168 ประเทศ ประชุมเรื่องลดภัยพิบัติโลก ที่เมืองโกเบ จังหวัด “เฮียวโงะ” ประเทศญี่ปุ่น สรุป Hyogo Framework เพื่อรู้และลดความเสี่ยงภัยในชุมชนด้วยตนเอง (www.unisdr.org)
1.1 ความเสี่ยง
• คนที่เกี่ยวข้อง และไม่เกี่ยวข้อง > • เหตุการณ์ (ประเภทของภัย) > • สถานที่ / พื้นที่ (แผนที่ชุมชน) > • เวลา (ปฏิทินภัย) ช่วงเวลาเกิดภัย > • จะจัดการอย่างไร >
1.2 บก.แผน
ใคร Who ทําาอะไร What ที่ไหน Where เมื่อไหร่ When อย่างไร How
• ศูนย์บัญชาการ (กองบัญชาการแผนฉุกเฉิน “บก.แผน”), บก.แผน, ฐานปฏิบัติการ (Base of Operations : BoO), บก.แผนเคลื่อนท่ีได้
• มดเอ็กซ์ : Mobile Desk for Command Exercise
1.3 จุดรวมพล
• จุดปลอดภัย, จุดปลอดภัยผู้ป่วยวิกฤติ
• พื้นท่ีอพยพเพ่ือหนีนํา้าท่วม, สึนามิ, ไฟป่า, พายุรุนแรง,
สารพิษฟุ้งกระจาย ฯลฯ
• จุดรวมพล Assembly Point
• จุดเตรียมเครื่องมือ เตรียมกําาลังพล, สถานที่เก็บสิ่งของ
(Cache) Staging
1.4 การวิเคราะห์ข้อมูลภัยใน สาเหตุจากปัจจัยภายใน
1.5 การวิเคราะห์ข้อมูลภัยนอก สาเหตุจากปัจจัยภายนอก
17