Page 21 - TEMCA Magazine 2/28
P. 21

    คั ม ภี ร์ อั ค คี ภั ย
    ไม่สามารถหายใจได้เอง
• ใช้ร่วมกับ N20 หรือ Halothane ในการ
ให้ยาสลบ/ระงับความรู้สึก
การเก็บรักษา :
• ปดิ วาลว์ ใหส้ นทิ เมอ่ื เลกิ ใช้ หรอื หมดแลว้
• เก็บถังบรรจุและท่อนําาก๊าซให้ห่างจาก
ความร้อน ประกายไฟ และเปลวไฟ
การป้องกันอันตรายจากการใช้ :
• ในการเคลื่อนย้าย/ขนย้ายถังออกซิเจน ให้ใช้รถเข็นมีโซ่คล้อง และฝาครอบจุก วาล์วเสมอ
• ตรวจสอบรอยรั่วของข้อต่อต่างๆ อย่าง สม่ําาเสมอ และทุกครั้ง ก่อนและหลังทําา การเคลอ่ื นยา้ ย/ขนยา้ ยถงั บรรจอุ อกซเิ จน
• ห้ามสูบบุหรี่หรือทําาให้เกิดประกายไฟ ในรัศมีห่างอย่างน้อย 15 เมตร และติด ต้ังอุปกรณ์ไฟฟ้าในรัศมีห่างอย่างน้อย 25 เซนติเมตร จากถังบริเวณที่เก็บถัง ออกซิเจน
• หลีกเลี่ยงการสูดดมโดยตรง
• ถ้าสัมผัสกับก๊าซเหลว ให้รีบล้างด้วยนํา้า
อุ่นท่ีสะอาด
• ถ้าหากรั่วไหล ให้เคลื่อนย้ายเครื่องมือ
หรือสิ่งของที่เกิดประกายไฟ/สารติดไฟ
สารไวไฟ ใหอ้ อกจากทเ่ี กดิ เหตใุ หเ้ รว็ ทส่ี ดุ
• ไม่สัมผัสสารท่ีร่ัวไหล ให้ใช้น้ําาฉีดเพ่ือ
•
ลดไอและการฟุ้งกระจาย ถ้าทําาได้ให้ พยายามขยบั ถงั ใหร้ ว่ั ไหลออกมา เฉพาะ ก๊าซ แล้วจึงปล่อยให้สารร่ัวไหลระเหย ไปจนหมด
ถ้าเกิดอัคคีภัย ให้เลือกสารเคมีดับเพลิง ทเ่ี หมาะสม และพยายามเคลอ่ื นยา้ ย ถงั ท่ีไม่เสียหายออกห่างจากบริเวณเกิด เหตุโดยเร็วและอย่างระมัดระวัง
เต้นช้าลง หลอดเลือดฝอยส่วนปลาย หดตวั คลน่ื ไส้ อาเจยี น กลา้ มเนอ้ื กระตกุ ชัก และอาจหมดสติได้
• การสัมผัสก๊าซเหลวโดยตรง อาจทําาให้ เน้ือเย่ือไหม้ จากความเย็นรุนแรงได้ (Cold Burn)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น :
• เคล่ือนย้ายผู้ประสบอันตรายออกจากท่ี เกิดเหตุโดยเร็ว
• กรณหี ยดุ หายใจหรอื หายใจลาํา บากใหใ้ ช้ เครื่องช่วยหายใจ
• เสื้อผ้าที่เย็นแข็งติดผิวหนัง ให้ใช้น้ําาอุ่น ลา้ งใหอ้ อ่ นตวั กอ่ นถอดออกและประคบ ส่วนที่ สัมผัสด้วยผ้าสะอาดชุบนํา้าอุ่น หลายๆ คร้ัง
การกําาจัดเมื่อใช้งานแล้ว หรือหมดอายุ :
ปล่อยให้ระเหยไปเอง (ระวังเปลวไฟ หรือ ประกายไฟ)
ข้อควรระวัง คําาเตือน :
บริเวณเก็บถังออกซิเจนในรัศมีห่างอย่าง น้อย 15 เมตร ห้ามไม่ให้รถทุกชนิดผ่าน ห้ามสูบบุหรี่ และห้ามใช้อุปกรณ์ท่ีทําาให้ เกิดประกายไฟ
  ผลต่อสุขภาพ :
• การสูดดมในความเข้มข้นสูงๆ โดยไม่ได้ ผสมความชื้นที่เหมาะสม จะทําาให้เกิด การกดระบบการหายใจ ปอดแฟบ หวั ใจ
ตารางสรุปผลการทดลองคุณสมบัติการติดไฟของก๊าซออกซิเจน สถานท่ีทําาการทดลอง ณ เมืองนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา
 วัสดุเชื้อเพลิง
   แหล่งกําาเนิดของไฟ
   ความเข้มข้นของก๊าซ ออกซิเจน (ร้อยละ)
   ผลการติดไฟ
    เศษผ้าฝ้าย
  บุหรี่ท่ีจุดแล้ว
  21–25 25–29 40-80
  - ไหม้ไปเรื่อยๆ โดยไม่มีเปลวไฟ
- ไหม้ประมาณ 1-2 นาทีก่อน ติดไฟ - ติดไฟทันทีทันใด
    เสื้อขนสัตว์
  ไม้ขีดไฟที่จุดแล้ว
  21–29 30-60
  - ขนสัตว์จะไหม้ทันทีที่โดนไม้ขีด ไฟ เปลวไฟจะดับเมื่อไม้ขีดไฟดับ
- ติดไฟทันทีทันใด
    กางเกงผ้าฝ้าย เนื้อหนา
  ไม้ขีดไฟที่จุดแล้ว
  21–24 25–34 35-60
  - ผ้าจะไหม้ช้าๆ มีเปลวไฟเล็กน้อย เปลวไฟจะไม่มีการเพิ่มมากขึ้น
- ไม้ขีดจะติดไฟประมาณ 30-60 วินาที ก่อนที่ผ้าทั้งผืนจะติดไฟ
- ติดไฟทันทีทันใด
   *** จงอย่าประมาทในการใช้ออกซิเจน ***
ISSUE2•VOLUME28
A U G U S T - O C T O B E R 2 0 2 1                    21 
      








































   19   20   21   22   23