Page 22 - TEMCA Magazine 2/28
P. 22

    คั ม ภี ร์ อั ค คี ภั ย
  3. ของเหลวไวไฟและเชื้อเพลิง เช่น แอลกอ ฮอล์ล้างแผล หรือทําาความสะอาด และ สําาลี ผ้าพันแผล กระดาษชําาระต่างๆ
ไม่ว่าจะมีผู้ป่วยที่ไหน จะในโรงพยาบาล หรือท่ีบ้านก็ตาม สิ่งเหล่านี้คือตัวการสําาคัญท่ี ทําาให้เหตุการณ์เพลิงไหม้ขยายตัว ลุกลามได้ อย่างรวดเร็วมาก โดยเฉพาะแอลกอฮอล์ ควร เก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท ห่างจากความร้อน ประกายไฟ และเปลวไฟ เม่ือใช้แล้วควรทิ้ง อย่างระมัดระวังในถังโลหะ และมีฝาปิดสนิท ไม่ให้อากาศเข้าไปได้ โอกาสท่ีจะติดลุกไฟ ก็ จะน้อยลง
ข้อแนะนําาในกรณีเกิดเพลิงไหม้สถาน พยาบาลผู้ป่วยโควิด-19
สาํา หรบั ในโรงพยาบาลทม่ี ผี ปู้ ว่ ยขน้ั รนุ แรง ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ (เช่น ICU)
1. ต้องจัดให้เจ้าหน้าท่ีในหอผู้ป่วยหนัก ซ่ึงแต่งชุดป้องกัน (PPE) อยู่แล้วทุกคน ทุกผลัด สามารถระงับเหตุเพลิงไหม้เบ้ืองต้นได้อย่างทนั ทว่ งทตี ง้ั แตว่ นิ าทแี รก โดยใชเ้ ครอ่ื งดบั เพลงิ นํา้า ยาเหลวระเหย HALOTRON ความจุ 10 ปอนด์ (ซง่ึ ควรมอี ยใู่ นหอผปู้ ว่ ยนน้ั จาํา นวนมากเพยี งพอ ระยะหา่ ง 5 เมตรตอ่ 1 ถงั ) หา้ มใชเ้ ครอ่ื งดบั เพลงิ ชนิดผงเคมีแห้งเป็นอันขาด
2.มีแผนการเคล่ือนย้ายผู้ป่วยโควิด ฉุกเฉิน ซึ่งประกอบด้วย
2.1 ใครเป็นผู้ย้ายบ้าง ย้ายผู้ป่วยก่ีคน จําานวนเจ้าหน้าท่ี (แต่ง PPE) ก่ีคนท่ีจะออกแรง ยก (มีแรงยกไหวหรือเปล่า?)
2.2 อุปกรณ์ท่ีจะใช้ในการเคล่ือนย้าย ใช้อะไรบ้าง เปลผ้าใบฉุกเฉิน (Soft Stretcher) หรือกระดานแข็ง (Spinal Board) หรือรถเข็น ผู้ป่วยไปลงทางลาด หรือนําาผู้ป่วยไปลง “รอก หนีไฟ”
2.3 เส้นทางการเคลื่อนย้าย ไปทางไหน? เป้าหมายอยู่ที่ไหน?
3. ทมี สนบั สนนุ ทเ่ี ปน็ มอื อาชพี เชน่ หนว่ ย
ดับเพลิง-กู้ภัย ประจําาตําาบลหรืออําาเภอ โดยขอ ตัวมาจากหน่วยเหนือ (ผู้บังคับบัญชา) เพื่อมา เขา้ เวรประจาํา โรงพยาบาล “เฉพาะกจิ โควดิ -19” พร้อมรถดับเพลิงและอุปกรณ์
4.ระบบการส่ือสารท่ีฉับไว คล่องตัว ชัดเจน และครบทั่วทุกตัวคน
5. ซ้อมตามแผนในเหตุการณ์สมมติอย่าง น้อยเดือนละ 1 คร้ัง
สําาหรับโรงพยาบาลสนามและ Home- Community Isolation ก็ใช้แนวทางเดียวกัน เพียงแต่จะมีความยุ่งยากและซับซ้อนมากขึ้น ในเร่ือง
1. คน • ท่ีมีจําานวนน้อยมาก ไม่มีประสบ การณ์ในการเผชิญเหตุฉุกเฉิน
2. ความรู้ • อาจไม่มี หรือมีน้อยมาก
3. เครื่องมือ• ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ทางการ แพทย์ที่จําาเป็น รวมถึงอุปกรณ์ฉุกเฉิน ต่างๆ เช่น เครื่องดับเพลิง เปลหาม พร้อม มีป้ายติดแสดงที่ตั้งของอุปกรณ์ อุปกรณ์ ส่องสว่าง Emergency Light ไฟฉาย สญั ญาณ แจง้ เหตุ ลาํา โพง เครอ่ื งขยายเสยี ง ซึ่งต้องเตรียมการให้พร้อมกับฝึกอบรมให้
5. เครือข่าย• ที่ต้องจัดระบบการสื่อสาร การประสานงาน เตรยี มความพร้อมเข้าช่วย เหลืออย่างเป็นระบบ
*** โรงพยาบาลสนาม ควรมีรถดับเพลิง และ เจ้าหน้าท่ีเข้าเวรประจําา
พึงระลึกไว้เสมอนะครับว่า
“ภาวะฉุกเฉินต้องบริหารแบบฉุกเฉิน สถานการณ์เปลี่ยน แผนท่ีเขียนต้องปรับ” สถานการณ์โรคติดต่อร้ายแรงโควิด-
19 ที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่ 2019 มาจนบัดนี้ การ แพร่กระจายของโรค ยังไม่เคยหยุดนิ่ง มีการ ปรับเปลี่ยนสายพันธุ์ ลักษณะอาการและ ความรุนแรงของโรคอย่างไม่หยุดน่ิง เหมือน เป็นการทดสอบความสามารถของมนุษย์ อย่างพวกเรา ว่าจะสู้กับศัตรูตัวเล็กๆ ที่มองไม่ เห็นได้มั้ย และได้แค่ไหน.....
แค่เช้ือโรคร้าย เราก็แทบจะตายกัน เป็นเบืออยู่แล้ว ผนวกอัคคีภัยเข้าไปอีก...
มนุษย์อย่างพวกเรา จะเอายังไง...
  จะยอมแพ้ หรือจะสู้... ความรู้ มาลองคิดดูนะครับ...
4. คุ้นเคย• ต้องมีพ่ีเลี้ยงที่คอยดูแล แนะนาํา และทาํา เปน็ ตวั อยา่ งโดยใกล้ชิด
    ISSUE2•VOLUME28  22                    A U G U S T - O C T O B E R 2 0 2 1
ส่วนตัวผู้เขียน
นายคณาทัต จันทร์ศิริ
ประธาน APFA & FARA Group of ASIA E-Mail : fara.kanathat@gmail.com
       



































































   20   21   22   23   24