Page 51 - TEMCA Magazine 2/28
P. 51
1.3.4 เพื่อความเข้าใจท่ีขยายกว้างในอีกมุมมองหนึ่งการให้คําา จําากัดความของมาตรฐาน BS 7671 : 2018 อธิบายแยกแยะ ระหว่าง TN กับ TT แล IT จากคําาศัพท์ earth fault loop impedance หมายถึง เม่ือเกิดการลัดวงจรลงดินจักมีกระแส ลัดวงจรลงดินเริ่มจากหม้อแปลงไฟฟ้าผ่านแผงเมนไฟฟ้า แล แผงไฟฟ้าต่างๆจนถึงจุดลัดวงจรลงดิน ไหลผ่านเปลือก ฤๅ ตัวนําาลงดิน ฤๅแผ่นดิน กลับไปยังหม้อแปลงไฟฟ้าครบวงจร เรียกว่า กระแสลัดวงจรผ่านตัวความต้านทานวงรอบ (loop impedance) กรณีท่ีระบบจําาหน่ายเป็น TN คือ ตลอดเส้น ทางของตัวความต้านทานวงรอบที่ผ่านเป็นโลหะ แล กรณีที่ ระบบจําาหน่ายเป็น TT แล IT คือ มีบางเส้นทางของตัวความ ต้านทานวงรอบที่ผ่านเป็นแผ่นดิน
1.4 อปุ กรณป์ ระกอบเพอ่ื ควมปลอดภยั ต่ งๆ สาํา หรบั ระบบจาํา หนา่ ย ไฟฟ้าแต่ละรูปแบบมีแนวทางการกําาหนด ดังน้ี
1.4.1 ระบบจําาหน่ายไฟฟ้าเป็น TN สําาหรับระบบไฟฟ้ากระแสสลับ ขอเรม่ิ ตน้ ดว้ ยรปู ประกอบคาํา อธบิ ายมาของ TN สามารถแสดง เป็นวงจรไฟฟ้าในรูปที่ 3.4 ก่อนอ่ืนต้องขออธิบายรูปท่ีแสดง การแบ่งระบบจําาหน่ายเป็น 3 แถวหลัก โดยแถวหลักที่ 1 แสดงรูปแบบท่ัวไปของไดอะแกรมท่ัวไปเป็นรูปแบบ TN-S แถวหลักท่ี 2 แสดงทางเลือกใช้งานอุปกรณ์ป้องกันกระแส เกนิ โดยแบง่ ซอยยอ่ ยเปน็ 3 แถวยอ่ ย โดยแถวยอ่ ยท่ี 21 แสดง รปู อปุ กรณป์ อ้ งกนั กระแสเกนิ สาํา หรบั รปู แบบ TN-S แถวยอ่ ยท่ี 22 แสดงรูปอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินสําาหรับรูปแบบ TN-C แถวย่อยท่ี 23 แสดงรูปอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินสําาหรับรูป แบบ TN-C-S โดยเรียงลําาดับจากซ้ายไปขวา ลําาดับท่ี 231 เปน็ TN-C ทไ่ี มแ่ ยกสาย N : Neutral แลสาย G : Ground ลาํา ดับ ท่ี 232 เป็น TN-C ท่ีแยกสาย N แลสาย G ออกจากกัน แลลําาดับที่ 233 เป็น TN-C-S ที่แยกสาย N แลสาย G ออก จากกัน แถวหลักท่ี 3 แสดงทางเลือกใช้งานอุปกรณ์ป้องกัน กระแสรั่วลงดิน โดยแบ่งซอยย่อยเป็น 2 แถวย่อย โดยแถว ย่อยที่ 31 แสดงรูปอุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วลงดินสําาหรับรูป แบบ TN-C แลแถวย่อยท่ี 32 แสดงรูปอุปกรณ์ป้องกันกระแส รั่วลงดินสําาหรับรูปแบบ TN-C-S
1.4.2 ระบบจําาหน่ายไฟฟ้าเป็น IT สําาหรับระบบไฟฟ้ากระแสตรง ขอ เร่ิมต้นด้วยรูปประกอบคําาอธิบายมาของ IT สามารถแสดง เป็นวงจรไฟฟ้าในรูปที่ 3.6 ก่อนอ่ืนต้องขออธิบายรูปที่แสดง การแบ่งระบบจําาหน่ายเป็น 4 แถวหลัก โดยแถวหลักที่ 1 แสดงรูปแบบทั่วไปของไดอะแกรมทั่วไปเป็นรูปแบบ IT ซึ่ง ไม่มีสายดินของบริภัณฑ์ แถวหลักที่ 2 แสดงทางเลือกใช้งาน อุปกรณ์ตรวจจับความเป็นฉนวน (insulation monitoring device : IMD) ซ่ึงมีสายดินของบริภัณฑ์ แถวหลักท่ี 3 แสดง ทางเลือกใช้งานอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน โดยแบ่งซอยย่อย เป็น 2 แถวย่อย โดยแถวย่อยที่ 31 แสดงรูปอุปกรณ์ป้องกัน กระแสเกินสําาหรับรูปแบบ IT ซ่ึงมีสายดินของบริภัณฑ์ แถว ย่อยที่ 32 แสดงรูปอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินสําาหรับรูปแบบ IT ซึ่งไม่มีสายดินของบริภัณฑ์ แถวหลักที่ 4 แสดงทางเลือก ใชง้ านอปุ กรณป์ อ้ งกนั กระแสรว่ั ลงดนิ แสดงรปู อปุ กรณป์ อ้ งกนั กระแสร่ัวลงดินสําาหรับรูปแบบ IT ซึ่งไม่มีสายดินของบริภัณฑ์
เ ล่ า สู่ กั น ฟั ง
ISSUE2•VOLUME28
A U G U S T - O C T O B E R 2 0 2 1 51