Page 52 - TEMCA Magazine 2/28
P. 52

    เ ล่ า สู่ กั น ฟั ง
    1.4.3 อุปกรณ์เก่ียวกับอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน (overcurrent protective devices : OCPR devices) ในท่ีนี้มีการควบคุม กระแสเกินระบบจําาหน่ายไฟฟ้า 2 การทําางานคือ (1) กระแส เกินลัดวงจร short circuit (2) กระแสเกินโหลด overload
(1) กระแสเกนิ ลดั วงจรshortcircuitทาํา งานเมอื่ มกี ารลดั วงจร
ไมว่ า่ จกั เปน็ ระหวา่ งเฟสกบั เฟส ฤๅระหวา่ งเฟสกบั นวิ ทรลั ฤๅระหว่างเฟสกับดิน (ดินในที่นี้หมายถึงเปลือกอุปกรณ์ ฤๅเปลือกบริภัณฑ์ ฤๅแผ่นดิน ฤๅสายดิน) โดยคําานึงถึง 2 ประเด็นคือ ขนาดของ earth fault loop impedance ท่ีหมายถึงค่าความต้านทานของระบบจําาหน่ายว่า มีค่า น้อยเพียงพอที่จักยอมให้เกิดกระแสลัดวงจรมากเพียง พอท่ีจักทําาให้ overcurrent protection : OCPR (ขณะที่ ขนาดแรงดันให้คําานวณที่แรงดันที่ 95%) ทําางานในเวลา ทม่ี าตรฐานกาํา หนด โดยทค่ี า่ ความสามารถในการทนขนาด ของกระแสลดั วงจร (อา้ งองิ คา่ ICs : service interruption capacity) สามารถทนได้โดยไม่เสียหาย
(2) กระแสเกนิ โหลด overload อา้ งองิ การทาํา งานของ circuit breaker : CB เม่ือพิจารณาการทําางานของ CB ตาม
มาตรฐานต่างๆ ไม่เกิน 145% ทําางานในเวลา 2 ชั่วโมง ที่ใช้อ้างอิงการกําาหนดขนาดวงจรเพื่อจําาหน่ายไฟฟ้า ใน ขณะที่หากจักพิจารณาการนําา fuse มาใช้ทําาหน้าที่แทน CB เนอ่ื งเพราะการทาํา งานของ fuse ตามมาตรฐานตา่ งๆ ไม่เกิน 200% ทําางานในเวลา 2 ช่ัวโมง ท่ียังไม่ครอบคลุม การกําาหนดขนาดวงจรเพ่ือจําาหน่ายไฟฟ้า ซ่ึงขนาดของ วงจรจักต้องสูงข้ึน 138% ของวงจรที่หาได้จากการเลือก ใช้ CB
ดังนี้แล้วการเลือกใช้ฟิวส์ทําาหน้าที่ป้องกันวงจรจําาหน่ายไฟฟ้าจึง สมควรตอ้ งใสใ่ จ มาตรฐานกาํา หนดใหใ้ ชฟ้ วิ สท์ ไ่ี ดม้ าตรฐาน IEC 60269-6 : 2010 ฤๅ มอก.2109 เลม่ 6-2559 ดว้ ยเหตผุ ลทจ่ี ดุ ทาํา งานกระแสเกนิ โหลด มีขนาดเท่ากับจุดทําางานของ CB คือ 145% ของค่าขนาดพิกัดวงจร
เมอ่ื ถงึ บรรทดั นต้ี อ้ งแสดงความตง้ั ใจจรงิ ทจ่ี กั เปน็ สว่ นเลก็ ๆ ในสงั คม งานวิศวกรรมไฟฟ้าสําาหรับประเทศไทยเพ่ือคล่ีคลายแง่มุมใหม่ๆ ของการ ใช้งานอุปกรณ์ป้องกันวงจรของ circuit breaker แล fuse ดังท่ีแสดงใน หัวข้อ 1.4.3 (2) แลวรรคถัดมาในความเข้าใจเร่ืองการใช้ฟิวส์ให้ชัดเจน ทั้งท่ีความไม่ชัดเจนเรื่องข้อมูลที่ประเทศไทยในการใช้ฟิวส์ว่า จักอ้างอิง มาตรฐานใด จนกระท่ังได้รู้จักกับ มอก.ข้างต้น แม้น มอก.จักแสดงไว้ใน ข้อกําาหนดมาตรฐาน มอก. ว่า ใช้สําาหรับ Solar PV ผู้เขียนขอเสนอแนว คิดว่า ควรเรียนรู้ทําาความเข้าใจ แลนําาไปใช้กับระบบจําาหน่ายอื่นๆ แม้น จักเป็นระบบไฟฟ้ากระแสสลับของเมืองไทยท่ีใช้งานกันอยู่ท่ัวไปด้วย โดยมีประเด็นที่ควรศึกษาเพ่ิมเติมคือ ช่วงระยะเวลาในการทําางานเมื่อ เกิดการลัดวงจรว่า มีคุณลักษณะที่เรียกว่าค่า I2t อ่านว่า ไอ-สแควร์-ที ที่ จกั ทาํา งานในคา่ เวลาทต่ี อ้ งการ เชน่ ในระบบไฟฟา้ กระแสตรงจกั ออกแบบ ใหท้ าํา งานในเวลา 1 วนิ าที ในขณะท่ี ในระบบไฟฟา้ กระแสสลบั จกั ออกแบบ ให้ทําางานในเวลา 0.4 วินาทีสําาหรับวงจรย่อยขนาดไม่เกิน 32 แอมป์ สําาหรับท่ีมากกว่านี้ให้ทําางานในเวลา 5 วินาที ช่วงเวลาเหล่าน้ีมีชื่อเรียก ว่า duration of protection ข้อมูลนี้อ้างอิงมาจาก BS 7671 : 2018 โดยที่ ประเทศไทยเองยังไม่มีการกําาหนดน้ี อาจเน่ืองมาจากการท่ีเรายังไม่เน้น การคําานวณใช้งาน earth fault loop impedance สุดท้ยนี้หวังย่ิงว่ ข้อมูลที่นําเสนอน้ีจักเป็นประโยชน์ในกรศึกษต่อยอดต่อไป แลหก มีใดที่เป็นกรเสนอแนวทงที่รวบรัดเกินไปที่จักยอมรับกันได้ ขอท่น ผู้อ่นได้เสนอกรอบกระบวนคิดมยังสมคมฯ ได้ ผู้เขียนยินดีชี้แจงทุก ประเด็นที่ทรบข้อมูล แลควมเข้ใจในทงเทคนิคต่อไป...
ส่วนตัวผู้เขียน
นยสุวิทย์ ศรีสุข วิศวกรไฟฟ้า-ที่ปรึกษาอิสระ
กรศึกษ
• ปริญญาตรี-วิศวกรรมศาสตร์ ไฟฟ้ากําาลัง สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี • ปริญญาโท-วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน ประสบกรณ์ • ทําางานกว่า 31 ปี งานด้านไฟฟ้ากําาลัง
    ISSUE2•VOLUME28  52                    A U G U S T - O C T O B E R 2 0 2 1
      





















































































   50   51   52   53   54