Page 66 - TEMCA Magazine 2/28
P. 66

    เ รูื อ ง พิ เ ศ ษ
     พิกัดอุณหภูมิของมอเตอร์
ประเภทฉนวนและพิกัดอุณหภูมิของ มอเตอร์มีความสําาคัญต่อการนําามอเตอร์มาใช้ งาน โดยส่วนใหญ่นําาข้อมูลประเภทฉนวนและ พิกัดอุณหภูมิของมอเตอร์เหน่ียวนําา AC มา ใช้กับมอเตอร์ DC ได้โดยพิจารณาเก่ียวกับ อุณหภูมิของมอเตอร์ดังน้ี
1. อุณหภูมิบรรยากาศ : เป็นอุณหภูมิของ อากาศรอบมอเตอร์เมื่อมอเตอร์ไม่ทําางาน
2. อุณหภูมิเพ่ิม (Temperature rise) :
เป็นอุณหภูมิภายในมอเตอร์ท่ีเปล่ียนไปเมื่อ ทําางานท่ีภาวะโหลดเต็ม เช่น ถ้าห้องมีอุณหภูมิ โดยรอบที่ค่าหน่ึงและมอเตอร์ได้ทําางานต่อ เนื่องท่ีภาวะโหลดเต็มทําาให้อุณหภูมิขดลวด เพิ่มขึ้น ผลต่างระหว่างอุณหภูมิเร่ิมต้นกับ อุณหภูมิสุดท้ายของมอเตอร์คืออุณหภูมิเพ่ิม ของมอเตอร์
วิธีมาตรฐานในการวัดอุณหภูมิเพ่ิมจะใช้ ความแตกต่างระหว่างรีซิสแตนซ์เป็นโอห์มของ ขดลวดที่เย็นและร้อน ซ่ึงอุณหภูมิของขดลวดท่ี เปล่ียนไปประกอบด้วยตัวนําาของมอเตอร์, บาร์ ขดลวด และลวดตัวนําาในร่องสเตเตอร์
จุดที่ร้อนกว่าส่วนอ่ืนๆ ถือเป็นอุณหภูมิท่ีจุด ร้อนท่ีสุด (Hot spot) เพ่ือเป็นจุดท่ีพิจารณาการ ยอมรับได้ นอกจากน้ันหากมอเตอร์ที่ทําางานที่ สภาพแวดล้อมโดยรอบร้อนและสกปรกตามรูป ท่ี 1 จะมีผลให้ประสิทธิภาพและอายุลดลง
รููปที่่ 1 มอเตอรู์ที่ํางนในสภพแวดล้้อมที่่รู้อนแล้ะสกปรูก
ชั้นแรงดันของฉนวนของมอเตอร์
ชั้นแรงดันของฉนวน (Insulation class) เป็นฉนวนที่ทนต่อความร้อนซ่ึงมีผลต่ออายุ และการล้มเหลว ชั้นแรงดันของฉนวนโดย ท่ัวไปมีสี่ระดับคือ A, B, F และ H
ขีดความสามารถด้านอุณหภูมิของแต่ละ ระดับคือ อุณหภูมิสูงสุดที่ฉนวนทําางานได้โดย มีอายุเฉลี่ย 20,000 ชั่วโมง ดังตารางท่ี 1
เป็น B ทั้งน้ีส่วนประกอบที่เป็นฉนวนของ มอเตอร์มีดังนี้
• การเคลือบฉนวนบนลวดตัวนําา
• ฉนวนที่เข้าสู่กล่องไฟฟ้า
• ปลอกสายท่ีต่อกับลวดตัวนําา
• บุร่องของสเตเตอร์ที่ป้องกันลวดตัวนําา
ถลอก
• ท่ยี ึดลวดตัวนําาให้อย่ใู นร่องของสเตเตอร์
• วาร์นิชท่ีเคลือบส่วนประกอบ โดยหุ้มปิด
การพันขดลวด และรัดขดลวดด้วยกันจน แข็งและไม่สั่นหรือถลอก
การใช้งานด้านอุณหภูมิและฉนวน
พิกัดอุณหภูมิบรรยากาศของมอเตอร์ส่วน ใหญ่คือ 40 ําC นั่นคือมอเตอร์พิกัด 40 ําC เหมาะ กับการติดต้ังท่ีอุณหภูมิอากาศปกติโดยรอบไม่ เกิน 40 ําC
มอเตอร์ที่มีฉนวนช้ัน A น้ันหากเปล่ียน ฉนวนเป็นชั้น B ก็จะมีขีดความสามารถเชิง ความร้อนเพิ่มอีก 25 ําC ซึ่งการใช้ขีดความ สามารถเพิ่มขึ้นดังกล่าวจะรองรับอุณหภูมิ บรรยากาศได้สูงขึ้นกว่าปกติ ทําาให้อายุของ มอเตอร์ยาวนานขึ้น
การใช้ขีดความสามารถเชิงความร้อนเพ่ิม ข้ึนนั้นจะสามารถรองรับภาวะโหลดเกินเนื่อง
    ตารางที่ 1 พิกัดชั้นแรงดันของฉนวนอายุเฉลี่ย 20,000 ชั่วโมง
 ชั้นแรงดันของฉนวน
  พิกัดอุณหภูมิ
 A
  105 ําC
 B
  130 ําC
 F
  155 ําC
 H
   180 ําC
  ผู้ผลิตมอเตอร์ใช้ส่วนประกอบที่เป็นฉนวน หลายส่วนโดยใช้การจัดระดับช้ันแรงดันของ ฉนวนในส่วนประกอบที่พิกัดอุณหภูมิตํา่าท่ีสุด เช่น หากผู้ผลิตใช้ส่วนประกอบชั้นแรงดันของ ฉนวนเป็น B โดยมีส่วนประกอบอ่ืนเป็น F และ H ถือว่าระบบท้ังหมดมีช้ันแรงดันของฉนวน
ISSUE2•VOLUME28  66                    A U G U S T - O C T O B E R 2 0 2 1
จากแรงดันไฟฟ้าสูงหรือตํา่า, ความไม่สมดุลของ แรงดันไฟฟ้า, การระบายอากาศท่ีน้อยเกินไป, โหลดที่มีความเฉื่อยสูง, การสตาร์ตบ่อยๆ เป็นต้นได้
การสร้างมอเตอร์โครง T ช้ัน B ท่ีมีการ ระบายความร้อนด้วยพัดลมและหุ้มปิดท้ังหมด
       


























































   64   65   66   67   68