Page 69 - TEMCA Magazine 2/28
P. 69

    ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ เ ค รูื อ ง ก ล
   จากการทดสอบที่ใช้แรงดันไฟฟ้าเท่ากันและในช่วงเวลาเท่ากัน และจะ ต้องเป็นผลลัพธ์ท่ีอุณหภูมิเดียวกันและความช้ืนเดียวกันด้วย ผลต่างๆ เหล่านี้จะนําไปเขียนลงกราฟแสดงประวัติของค่าความต้านทานฉนวน ที่เปล่ียนแปลงไป กราฟที่มีลักษณะลดลงโดยปกติแล้วเป็นการแสดงว่า ความต้านทานเริ่มเสื่อมสภาพเน่ืองจากสภาวะต่างๆ เช่น ความช้ืน การ สะสมของฝุ่นละออง เป็นต้น ถ้าความต้านทานลดลงอย่างรวดเร็วแสดง ว่าฉนวนน้ันเส่ือมสภาพ (ดูรูปท่ี 2) วิธีน้ีสามารถใช้กับงานติดตั้งใหม่ได้ โดยการเทียบกับค่ามาตรฐานท่ีกําหนดไว้ก่อนแล้ว
ตําาแหน่ง A แสดงค่าความต้านทานลดลงเนื่องจากอายุการใช้งาน และการสะสมของฝุ่นละออง
ตําาแหน่ง B เส้นกราฟตกอย่างรวดเร็วแสดงว่าฉนวนเสื่อมสภาพ ตําาแห่นง C ค่าความต้านทานสูงขึ้นหลังจากท่ีมอเตอร์มีการพันขด
ลวดใหม่
แสดงค่าความต้้านทานท่วัดได้ในแต้่ละปี
ขนาดของอุปกรณ์ การเพิ่มขึ้นของค่าความต้านทานของฉนวนท่ีสะอาด และแห้งจะเกิดในลักษณะเดียวกันไม่ว่ามอเตอร์จะมีขนาดใหญ่หรือเล็ก กต็ าม จากเหตผุ ลดงั กลา่ วจะทาํ ใหเ้ ราสามารถเปรยี บเทยี บมอเตอรต์ า่ งๆ และสร้างเป็นค่ามาตรฐานขึ้นใหม่ได้โดยไม่ต้องคํานึงถึงขนาดแรงม้าของ มอเตอร์
ในรูปท่ี 3 แสดงผลการทดสอบที่แตกต่างกันท่ีอาจเกิดข้ึนระหว่าง ฉนวนที่ดีและไม่ดีในช่วงเวลา 60 วินาที เม่ือเป็นฉนวนที่ดีค่าที่อ่านได้ใน ช่วงเวลา 60 วินาทีจะสูงกว่าค่าท่ีอ่านในช่วงเวลา 30 วินาทีมาก (ฉนวน ที่ไม่ดีหลังจากเวลา 30 วินาทีแล้วค่าความต้านทานเกือบจะไม่เพ่ิมหรือ เพ่ิมน้อยมาก)
ข้อได้เปรียบสําหรับวิธีการทดสอบแบบนี้คือจะให้ภาพที่ชัดเจนกว่า แม้ว่าวิธีทดสอบแบบอ่านค่าเดียวจะดูเหมือนว่าฉนวนนั้นอยู่ในสภาพดี
ค่า dielectric absorption ratio (DAR) สําหรับวิธีทดสอบแบบ เวลา-ความต้านทาน เป็นอัตราส่วนของความต้านทานที่เวลา 60/30 วินาที ค่าที่ได้แสดงสภาพของฉนวนอยู่ในสภาพดีหรือไม่ เป็นวิธีหน่ึงใน การประเมินสภาพของฉนวน ดังน้ี
• ตํ่ากว่า 1 แสดงว่าฉนวนชํารุด
• ระหว่าง 1 ถึง 1.25 แสดงว่าใช้ได้ • ระหว่าง 1.4 ถึง 1.6 แสดงว่าดีมาก
3. วิธี Polarization Index
Polarization Index (PI) เป็นดัชนีที่ใช้เปรียบเทียบค่าความต้านทาน ที่อ่านได้ในช่วงเวลา 10 นาทีกับ 1 นาที ในมาตรฐาน IEEE 43-2000, "Recommended Practice for Testing insulation Resistance of Rotating Machinery." กําหนดค่าตํ่าสุดของ polarization index สําหรับ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับไว้ดังว่า Class A เท่ากับ 1.5, class B เท่ากับ 2.0, และ Class C เท่ากับ 2.0 คํานวณดังน้ี
    รููปท่ 2 
2. วิธีทดสอบแบบเวลา-ความต้านทาน
วิธีน้ีเรียกว่า dielectric absorption ratio (DAR) เป็นการทดสอบที่ไม่ ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ โดยปกติแล้วจะสามารถให้ผลลัพธ์ได้โดยไม่ต้องอาศัย ค่าท่ีบันทึกจากการทดสอบในอดีต วิธีนี้อาศัยหลักการพื้นฐานของ absorption effect ของฉนวนทด่ี เี ปรยี บเทยี บกบั ความชน้ื และความสกปรก ของฉนวน ทําง่ายๆ โดยการอ่านค่าที่เวลาใดเวลาหนึ่งตามที่กําหนดไว้ แล้วจดบันทึกค่าที่แตกต่างกันไว้ (ดูรูปที่ 3)
ฉนวนที่ดีจะแสดงค่าความต้านทานที่เพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง (ดูเส้น โค้ง D) ตลอดระยะเวลา (ที่ช่วงเวลา 5 ถึง 10 นาที) ถ้าฉนวนมีความชื้น หรือมีความสกปรกอยู่ ค่าการดูดซับจะถูกบดบังด้วยกระแสรั่วที่มีค่าสูงท่ี ยังคงค้างอยู่ที่ค่าคงท่ีค่าหน่ึง เป็นผลให้ค่าความต้านทานท่ีอ่านได้มีค่า ต่ํา (เน่ืองจากกระแสมีค่าสูง ดูเส้นโค้ง B ในรูปที่ 3)
การทดสอบแบบเวลา-ความต้านทานมีข้อดีมากเน่ืองจากไม่ขึ้นกับ
รููปท่ 3 
แสดงค่าความต้้านทานท่สูงขึ้้นเท่ยบกับเวลา ขึ้องฉนวนท่ด่และไม่ด่
 69 
    ISSUE2•VOLUME28 A U G U S T - O C T O B E R 2 0 2 1
               











































































   67   68   69   70   71