Page 41 - TEMCA MAG. ฉบับที่ 3 ปีที่ 28
P. 41
สมองใสไฮเทค
ดังนั้น จะเลือก Overload ที่มากกว่า 12.075A คือ 15A
3.4.3 คําานวณหาขนาดสายไฟ
IW = ขนาดพิกัดกระแส * 1.25 = 10.5*1.25
= 13.125A ดังนั้นจะต้องเลือกสายไฟท่ีทนกระแสได้
มากกว่า 13.125A คือเลือก 1.5 ตร.มม.
3.5 การทดสอบประสิทธิภาพ
3.5.1 หัวข้อการทดสอบ
• การทดสอบความเร็วสูงสุด
• การทดสอบระยะเวลาในการจ่ายไฟ
ของแบตเตอร่ี
3.5.2 ขั้นตอนการทดสอบ
• ทดสอบวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดกับ พลังงานแบตเตอรี่ 100% แล้วบันทึก ผลระยะทางที่รถไฟฟ้าวิ่งได้
• ทดสอบว่ิงด้วยความเร็ว 50% กับ พลังงานแบตเตอร่ี 100% แล้วบันทึก ผลระยะทางที่รถยนต์ไฟฟ้าทําาได้
4. ผลกรดำําเนนิ งน
4.1 ผลของโครงงาน
4.1.1 ตู้คอนโทรลมอเตอร์
4.2 ผลการทดสอบโครงงาน
ตารางท่ี 1 ตารางกระแสโหลด ตามระดับความถ่ี (อัตราทด 1:4 )
ตารางท่ี 2 ตารางกระแสโหลด ตามระดับความถ่ี (อัตราทด 1.6:1 )
ความถี่
กระแส
0Hz
0A
5Hz
7A
10 Hz
10A
15 Hz
17A
20 Hz
20A
25 Hz
30A
30 Hz
40A
35 Hz
44A
40 Hz
OV
45 Hz
-
50 Hz
-
ความถี่
กระแส
0Hz
0A
5Hz
7A
10 Hz
28A
15 Hz
3A
20 Hz
5A
25 Hz
6A
30 Hz
8A
35 Hz
13A
40 Hz
17A
45 Hz
19A
50 Hz
OV
รูปที่ 23 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดกับ ความเร็ว และกระแสกับความเร็ว (อัตรา ทด 1:4)
รูปท่ี 24 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดกับ ความเร็ว และกระแสกับความเร็ว (1.6:1)
5. สรปุ ผลกรทดำลอง และข้อ้ เสนอแนะ
5.1 สรุปผลการทดลอง
จากวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารถยนต์สันดาป ภายในเป็นยานยนต์ไฟฟ้า เพื่อลดปัญหามลพิษ ที่เกิดจากการสันดาปภายในหรือการเผาไหม้ เชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ที่ปล่อยมลพิษสู่ บรรยากาศ ซง่ึ ชน้ิ งานของคณะผจู้ ดั ทาํา เปน็ เพยี ง องค์ประกอบหนึ่งของการพัฒนาเครื่องยนต์ สันดาปภายในเป็นยานยนต์ไฟฟ้า จากการ ทดสอบการทําางานของมอเตอร์ที่นําาไปขับเพลา หลังของรถยนต์โดยใช้ Pulley ต่อเข้ากับเพลา ของมอเตอร์และไปขับเพลาหลังของรถยนต์ พบว่าในอัตราทดเพลาขับกับเพลาตามท่ี 1:4 กระแสมอเตอร์ตอนสตาร์ตสูงท่ี 45 แอมป์ จาก นั้นคณะผู้จัดทําาได้ทําาการลดอัตราทดของเพลา ขับกับเพลาตามท่ี 1.6:1 กระแสของมอเตอร์ลด ลงมาที่ 14 แอมป์ จึงทําาให้มอเตอร์ที่ทําางานได้ อย่างต่อเนื่องไม่เกิดความเสียหายกับมอเตอร์
รูปที่ 21 ตู้คอนโทรลมอเตอร์
รูปท่ี 22 มอเตอร์ที่ประกอบติดกับเพลา รถยนต์
ISSUE3•VOLUME28 NOV.2021-JAN.2022 41