Page 62 - TEMCA MAG. ฉบับที่ 3 ปีที่ 28
P. 62

                                    บ ท ค ว า ม พิ เ ศ ษ
    กระบวนการ “โลจิสติกส์” การจัดการ โลจิสติกส์จะเน้นไปท่ีการเชื่อมโยงระหว่าง กิจกรรมตั้งแต่ข้ันตอนในการจัดหาวัตถุดิบ (Raw Material) สินค้า (Goods) และบริการ (Services) การเคลอ่ื นยา้ ยจากตน้ ทาง (Source of Origin) ไปยังผู้บริโภคปลายทาง (Final Destination) ได้ทันเวลา (Just in Time) และมี ประสิทธิภาพ โดยมีการสร้างระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ การแลกเปล่ียนข้อมูลทางอิเล็ก ทรอนิกส์ และติดตั้งซอฟท์แวร์ท่ีทันสมัย เพื่อ ช่วยในการบริหารจัดการ นอกจากนี้การเคลื่อน ย้ายสินค้าในความหมายของโลจิสติกส์ ยัง ครอบคลมุ ถงึ การขนสง่ สนิ คา้ การเกบ็ รกั ษาสนิ คา้ และการกระจายสินค้า กระบวนการที่เก่ียวข้อง กับการจัดซื้อ และกระบวนการท่ีเกี่ยวข้องกับ คาดคะเนของตลาด โดยมีเป้าหมายที่สําาคัญคือ
• ความรวดเร็วในการส่งมอบสินค้า (Speed Delivery)
• การไหลลื่นของสินค้า (Physical Flow)
• การไหลลื่นของข้อมูลข่าวสาร (Informa-
tion Flow)
• การสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Added)
• การลดต้นทุนการดําาเนินการเก่ียวกับ
สินค้า การดูแลและขนส่งสินค้า (Cargo
Handling &Carriage Cost)
ต้นทุน (Cost) หมายถึง ค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึน
เพื่อให้ได้สินค้าและบริการในการดําาเนินงาน โดยการจ่ายชําาระอาจเป็นเงินสด หรือทรัพย์สิน อื่นๆ เช่น เงินทุนจากเจ้าของ ผู้ถือหุ้น ตลอดจน ได้เงินมาจากการกู้ยืม เพื่อหวังผลกําาไรเป็นผล ตอบแทน และตน้ ทนุ ในทางบญั ชี หมายถงึ มลู คา่ ของทรัพยากร ที่มีประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ โดยกิจการเป็นเจ้าของและมีอย่างจําากัด นั่นก็ คือ เงินสดและแรงงานที่ต้องสูญเสีย สามารถ วัดมูลค่าที่เป็นตัวเงินได้อย่างชัดเจน เพ่ือให้ได้ มาซ่ึงสินค้าหรือบริการไว้ดําาเนินกิจการ
ผู้บริหารวัดและใช้ต้นทุน ในหลายด้านดังนี้
1. ด้านการวางแผน ใช้ต้นทุนท่ีคาดการณ์ ในอนาคตเพื่อจัดเตรียมงบประมาณในการ วางแผน
2. การตัดสินใจ การคัดเลือก และจัดรูป แบบต้นทุนที่มีความหมาย จะช่วยในการตัดสิน ใจท้ังระยะส้ันและระยะยาว
3. การควบคุมต้นทุน ใช้การวัดต้นทุนท่ี เกิดขึ้นโดยเปรียบเทียบกับงบประมาณหรือเป้า หมายหรือมาตรฐาน เพื่อเป็นตัวบอกทิศทางให้
กับองค์กร
4. การวัดรายได้ ใช้ต้นทุนของสินค้าและ
บริการที่ขายเพื่อวัดกําาไรของกิจการ กําาไรของ หน่วยงานของโครงการ หรือของลูกค้าแต่ละ รายในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
การวางแผน การดําาเนินงาน การตัดสินใจ และการควบคุมเป็นกิจกรรมของผู้บริหาร ซ่ึง ต้องการความถูกต้องและการประมาณต้นทุน คงที่ และต้นทุนผันแปรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนและกิจกรรมเรียก ว่าพฤติกรรมต้นทุน ในการวางแผนฝ่ายจัดการ จะต้องคาดการณ์ว่า จะเกิดข้ึนเป็นจําานวนเท่า ใด ณ ระดับต่างๆ ของการผลิตและการขาย วางแผนการควบคุมต้นทุนที่เกิดข้ึนและใช้ ประโยชน์จากข้อมูลต้นทุนท่ีได้คาดคะเนไว้น้ัน ในการวางแผนกําาไรในอนาคต
ในการบรหิ ารธรุ กจิ ผปู้ ระกอบการโลจสิ ตกิ ส์ ควรจะต้องพิจารณาว่าธุรกิจของตนเองมีความ ได้เปรียบในการแข่งขันมากน้อยเพียงใดและ ต้องคําานึงถึง โครงสร้างระหว่างต้นทุนกับ กิจกรรม โลจิสติกส์ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อ ความต้องการของลูกค้า ระดับการให้บริการ และการใช้ทรัพยากรขององค์กรได้อย่างคุ้มค่า ต้นทุนโลจิสติกส์ประกอบด้วย
1. ต้นทุนการให้บริการลูกค้า (Customer Service Costs) ประกอบไปด้วย ต้นทุนใน การเติมเต็มตามคําาส่ังซื้อ ต้นทุนการจัดเตรียม ช้ินส่วน/อะไหล่และบริการหลังการขาย ต้นทุน ในการจัดการสินค้าที่ถูกส่งคืน เพ่ือให้ลูกค้า เกิดการรับรู้และเข้าใจ ในระดับความสามารถ ในการบริการของธุรกิจ และความพึงพอใจของ ลูกค้า นอกจากน้ีประเด็นในการตัดสินใจเลือก ระหวา่ งตน้ ทนุ ทธ่ี รุ กจิ ตอ้ งการควบคมุ ใหม้ คี วาม เหมาะสมกับระดับการให้บริการลูกค้า
2. ต้นทุนการขนส่ง (Transportation Costs) ค่าใช้จ่ายท่ีเก่ียวข้องกับการขนส่ง จะ พิจารณาแตกต่างกันไปตามส่ิงท่ีใช้ในการ วิเคราะห์ ต้นทุนการขนส่งอาจเกิดจากความ ต้องการของลูกค้าที่แตกต่างกัน ผลิตภัณฑ์ท่ี
 ISSUE3•VOLUME28 62 NOV.2021-JAN.2022
               










































































   60   61   62   63   64