Page 33 - TEMCA MAGAZINE ฉบับที่ 1 ปีที่ 28
P. 33

                                   สมองใสไฮเทค
 ผ ล ง า น นั ก ศึ ก ษ า
ตัวตรวจสอบความเข้มข้นน้ําากะทิ
วศ.บ. สาขาวิชา วิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
โครงงานวิจัยศึกษาตัวตรวจสอบความเข้มข้นน้ําากะทิ โดยใช้ตัวเก็บประจุแบบแผ่นคู่ขนานสมมุติฐานของเทคนิคนี้คือ ค่า ความจุทางไฟฟ้าของน้ําากะทิจะเปล่ียนแปลงไปกับปริมาณน้ําาที่ถูกเติมลงไปในกะทิ การทดลองกระทําาโดยใช้มัลติมิเตอร์ เพื่อ ทําาการวัดค่าความจุไฟฟ้า เพื่อนําาตัวเก็บประจุแบบแผ่นคู่ขนานขนาด 3x1 ซม. ระยะห่างระหว่างแผ่น 0.5 ซม. มาทําาการ ทดสอบกะทิอีกท่ีระดับความเข้มข้น 100, 80, 60, 40, 20 และ 0 เปอร์เซ็นต์ โดยใช้แหล่งกะทิจาก 3 แหล่งตัวอย่าง พบ ว่า กะทิที่มีระดับความเข้มข้นน้ําากะทิต่ําาจะมีค่าความจุทางไฟฟ้ามากกว่ากะทิที่มีความเข้มข้นสูง และสามารถตรวจสอบการ เจือปนน้ําาในกะทิโดยมีค่าสหสัมพันธ์ภายใต้สมการเส้นตรงท่ีระดับ 0.8288 - 0.8999 ซ่ึงมีความน่าเช่ือถือสูง
   บทที่ 1 บทนําา
กะทิ (coconut milk) เป็นผลิตผลจาก มะพร้าวท่ไี ด้จากการบีบหรือข้วั เน้อื มะพร้าวขูด โดยอาจเตมิ นาํา้ หรอื ไมก่ ไ็ ด้กะทมิ ลี กั ษณะเปน็ ของ เหลวสีข่นุ คล้ายนม มีกล่นิ และรสเฉพาะตัวของ มะพร้าว (nutty flavor) ถือว่าเป็นวัตถุดิบที่มี ความสาํา คญั ตอ่ เศรษฐกจิ ทางดา้ นอาหารของไทย เปน็ สว่ นประกอบในการทาํา อาหาร โดยมรี สชาติ มันและหวาน เช่น อาหารขึ้นชื่อของไทยอย่าง ตม้ ยาํา กงุ้ ในปจั จบุ นั มกี ารแปรรปู ผลติ ภณั ฑก์ ะทิ ออกวางจาํา หนา่ ยแบบสาํา เรจ็ รปู ทง้ั ในรปู กะทผิ ง และผลิตภัณฑ์ยูเอชที เพื่ออําานวยความสะดวก ในการใชง้ านและถอื ไดว้ า่ กะทมิ คี วามสาํา คญั ตอ่ อาหารไทยเป็นอย่างมาก
กะทิ สัดส่วนขององค์ประกอบในกะทิขึ้น อยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น สายพันธุ์ของ มะพร้าว อายุ สภาพแวดล้อมในการเจริญ เติบโต รวมถึงกระบวนการเตรียมและวิธีการ แยกกะทิ องค์ประกอบของกะทิที่ได้จากการ บีบเน้ือมะพร้าวขูดโดยไม่เติมน้ําาประกอบ ด้วยความช้ืนร้อยละ 50.0-54.0 ไขมันร้อยละ 32.0-40.0 โปรตีนร้อยละ 2.8-4.4 เถ้าร้อยละ
1.0-1.5 และคาร์โบไฮเดรตร้อยละ 5.5-8.3 ส่วนปริมาณไขมันในผลิตภัณฑ์กะทิจาก ประเทศไทยจะอยใู่ นชว่ งรอ้ ยละ 15-30 รายงาน ค่า pH ของน้ําากะทิอยู่ระหว่าง 5.8-6.4 โดยวัด ที่ช่วงอุณหภูมิ 10-80 ําC จึงถือว่ากะทิเป็น อาหารทม่ี คี วามเปน็ กรดตา่ํา
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพ่ือศึกษาค่าความจุทางไฟฟ้าของน้ําา กะทิด้วยตัวเก็บประจุแบบแผ่นคู่ขนาน
2. เพ่ือเปรียบเทียบค่าความจุทางไฟฟ้า ของกะทิสดท่ีความเข้มข้นต่างๆ โดยใช้ตัวเก็บ ประจุแบบแผ่นคู่ขนาน
ขอบเขตการศึกษา
1. ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ กะทิสดที่ ได้จากตลาดสดเทศบาลเมืองมหาสารคาม
2. ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรตาม คือ ค่า ความจุทางไฟฟ้าของกะทิสดท่ีความเข้มข้น ต่างกัน พื้นท่ีสัมผัสของแผ่นตัวเก็บประจุ และ ระยะห่างระหว่างแผ่นตัวเก็บประจุทั้งสองแผ่น
ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ
ISSUE1•VOLUME28
MAY-JULY2021 33
1. ผลการวิจัยคร้ังนี้จะนําาเสนอค่าความ จุทางไฟฟ้าของกะทิสดท่ีความเข้มข้นต่างกัน โดยใชต้ วั เกบ็ ประจแุ บบแผน่ คขู่ นาน ความกวา้ ง ระหว่างแผ่นต่างกันและพื้นที่สัมผัสต่างกัน
2. ผลการวิจัยครั้งนี้จะนําาเสนอปัจจัยของ ตัวเก็บประจุแบบแผ่นคู่ขนานท่ีส่งผลต่อค่า ความจุทางไฟฟ้าของการปนน้ําาในกะทิสด
3. ผลวิจัยคร้ังน้ีจะเป็นประโยชน์ทางด้าน การศึกษาต่อผู้ท่ีสนใจ และเป็นประโยชน์ต่อผู้ บริโภคกะทิช่วยในการตัดสินใจก่อนซ้ือและนําา ไปประกอบอาหาร
แผนการดําาเนินการศึกษา
1. ศึกษาและสืบค้นข้อมูลจากบทความ และแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. ออกแบบตัวเก็บประจุแบบแผ่นคู่ขนาน
3. ทดลองค่าความจุไฟฟ้าของกะทิท่ี ความเข้มข้นต่างๆ
4. วิเคราะห์และสรุปผล
งบประมาณ
ใช้งบประมาณในการศึกษาและซื้ออุปกรณ์ 10,000 บาท
                 






































































   31   32   33   34   35