Page 37 - TEMCA MAGAZINE ฉบับที่ 1 ปีที่ 28
P. 37

                                    สมองใสไฮเทค
   ตารางที่ 2 ผลการทดลองตัวเก็บประจุแบบแผ่นคู่ขนาน ขนาด 3x1 ซม.ระยะห่าง (d) 0.5 ซม.
 ขนาดตัวเก็บ ประจุแบบแผ่น คู่ขนาน
   แหล่ง จําาหน่าย กะทิ
     ค่าความจุทางไฟฟ้า (C) ที่วัดได้ (uF)
  ร้อยละความเข้มข้นของกะทิ (%)
 0
 20
 40
 50
 60
 80
  100
  3x1 ซม.
   1
 0.784
 0.567
 0.429
 0.431
 0.371
 0.340
  0.325
 2
  0.738
  0.534
  0.469
  0.346
  0.251
  0.257
   0.197
  3
  0.468
   0.354
 0.270
   0.241
 0.221
   0.212
  0.193
     สรุปผลการทดลอง
จากตารางท่ี 2 ตัวเก็บประจุแบบแผ่นคู่ ขนานขนาด 3x1 ซม.ระยะห่าง (d) 0.5 ซม. เมื่อนําามาทดลองกับนํา้ากะทิสดทั้ง 3 แหล่ง จําาหน่ายพบว่าเมื่อความเข้มข้นของกะทิเพิ่ม ขึ้นส่งผลให้ค่าความจุทางไฟฟ้าลดลงท้ัง 3 แหล่งจําาหน่าย
ผลการทดลองแหล่งจําาหน่ายทั้ง 3 แหล่ง ตัวอย่าง สามารถนําามาวิเคราะห์ผลโดยใช้การ วเิ คราะหก์ ารถดถอยเชงิ เสน้ (LinearRegression) เพ่ือหาสมการการถดถอยเชิงเส้น และค่า สัมประสิทธ์ิการตัดสินใจ (R2) ระหว่างความ เข้มข้นของกะทิ และค่าความจุทางไฟฟ้าของ ตัวเก็บประจุแบบแผ่นคู่ขนาน ขนาด 3x1 ซม. ระยะห่างระหว่างแผ่น (d) 0.5 ซม. เปรียบ เทียบกัน ได้ดังรูปที่ 11
 รูปที่ 11 แสดงค่าความจุทางไฟฟ้าของการปนน้ําาใน กะทโิ ดยใชต้ วั เกบ็ ประจแุ บบแผน่ คขู่ นาน ขนาด 3x1 ซม. ระยะหา่ งระหวา่ งแผน่ (d) 0.5 ซม. ทง้ั 3 แหลงตวั อยา่ ง
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลในโครงการวิจัยครั้งน้ี จากผลการทดลองค่าความจุทางไฟฟ้ากะทิสด ทั้ง 3 แหล่งตัวอย่าง โดยใช้หลักการวิเคราะห์ การถดถอยเชิงเส้น (Liner Regression) เพ่ือหา สมการการถดถอยเชิงเส้น และค่าสัมประสิทธ์ิ การตัดสินใจ (R2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่าง ร้อยละของการเจือปนน้ําาในกะทิ และ
ตัวเก็บประจุแบบแผ่นคู่ขนาน พบว่า ค่า สัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R2) ของแหล่งท่ี 2 มีค่ามากที่สุด รองลงมาคือแหล่งที่ 3 และ แหล่งที่ 1 ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R2) คือ 0.8999 0.8413 และ 0.8288 ตามลําาดับ
การนําาเสนอผลการทดลอง
เนื่องจากกะทิแต่ละแหล่งที่นําามาทําาการ ทดลองมีความแก่ของลูกมะพร้าวต่างกัน กะทิ 100% แต่ละครั้งท่ีทําาการทดลองจึงเข้มข้นไม่ เท่ากัน ส่งผลให้วัดค่าความจุทางไฟฟ้าได้แตก ต่างกัน ผู้ทดลองจึงคิดค้น และสร้างเครื่อง วัดเพื่อนําาเสนอผลการทดลองแบบง่าย โดยใช้ หลักการของโอห์มมิเตอร์ ดังรูปท่ี 12 และ 13
 รูปที่ 14 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้ม ข้นของกะทิสดและกระแส
จากรูปท่ี 14 กราฟแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างความเข้มข้นของกะทิสดและกระแส ที่วัดได้ โดยที่อุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดคือ เคร่ืองวัดความเข้มข้นของกะทิ ดังรูปที่ 14 จากกราฟแสดงให้เห็นถึงกะแสที่ได้จากการ ทดลองจะเพิ่มขึ้นเมื่อความเข้มข้นของกะทิ เพิ่มขึ้น
บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา
จากการทดลองวดั คา่ ความจไุ ฟฟา้ ของกะทิ สด โดยใช้ตัวเก็บประจุแบบแผ่นคู่ขนานขนาด ตา่ งๆ พบวา่ ตวั เกบ็ ประจแุ บบแผน่ คขู่ นาน ขนาด 3x1 ซม. ระยะห่าง(d) 0.5 ซม. เป็นเซนเซอร์ท่ี ดีทีสุดที่ใช้ในการวัด เนื่องค่าความจุไฟฟ้าท่ีวัด ได้มีค่าน่ิง และสามารถแยกความเข้มข้นของ กะทิได้ แต่สามารถแยกความเข้มข้นของกะทิ ได้เพียง 2 ช่วง คือ กะทิบริสุทธิ์ และกะทิที่ มีการเจือปนน้ําา 50% ไม่สามารถแยกความเข้ม ข้นของกะทิหลายช่วงได้เพราะค่าแตกต่างกัน น้อย จึงสรุปได้ว่า เมื่อความเข้มข้นของกะทิ เพิ่มขึ้นส่งผลให้ค่าความจุทางไฟฟ้าที่วัดได้จะ มีค่าลดลง
การนําาไปใช้
ผู้ท่ีสนใจหรือต้องการศึกษาคร้ังต่อไป สามารถนําาเซนเซอร์วัดค่าความจุไฟฟ้าแบบ แผ่นคู่ขนานขนาน ขนาด 3x1 ซม. ระยะห่าง (d) 0.5 ซม. ไปเป็นตัวเลือกในการตัดสินเลือก ขนาดท่ีเหมาะสม นําาเทคนิคในการทําาตัวเก็บ ประจุแบบแผ่นคู่ขนานไปใช้ในการศึกษาครั้ง ต่อไปหรือนําาไปพัฒนาให้ดีข้ึน
   
รูปท่ี 12 วงจรเครื่องวัด
   
รูปที่ 13 เครื่องวัดความเข้มข้นของกะทิ
จากภาพประกอบ 13 เครื่องวัดความเข้ม ข้นของกะทิ โดยที่จะแสดงค่าเป็นแบบแถบสี แบ่งแถบความเข้มข้น เป็น 3 สี คือ เขียว เหลือง แดง ได้ดังนี้
ISSUE1•VOLUME28
MAY-JULY2021 37
               






































   35   36   37   38   39