Page 38 - TEMCA MAGAZINE ฉบับที่ 1 ปีที่ 28
P. 38

                                    สมองใสไฮเทค
      รูปท่ี 15 การทดลองวัดค่าความจุไฟฟ้าของกะทิ
ปัญหา: อุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดเป็นเซนเซอร์ วัดค่าความจุไฟฟ้าแบบแผ่นคู่ขนานท่ีสร้างขึ้น เอง อุปกรณ์มีความบางและยังแข็งแรงไม่เพียง พอ ควรระมัดระวังในการวัด ซึ่งในการวัดบาง คร้ังความผิดพลาดอาจเกิดขึ้นจากอุปกรณ์หรือ ตัวผู้วัดเอง
การแก้ปัญหา: เช็คอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพ สมบูรณ์ทุกครั้งก่อนนําามาทดลอง ทําาการวัดซํา้า หลายๆ รอบ จากนั้นนําาค่าความจุไฟฟ้าที่อ่าน ค่าได้จากมัลติมิเตอร์มาวิเคราะห์ผล
ข้อเสนอแนะ
1. ผู้ที่สนใจนําาไปศึกษาต่อควรวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าความจุ ไฟฟ้า เช่น อุณหภูมิ ความลึกของตัวเก็บประจุท่ีจุ่มลงในนํา้ากะทิ ภาชนะท่ีบรรจุกะทิ (ควรเป็น ฉนวน)
2. อุปกรณ์ท่ีวัดควรใช้ตัวเดียวกันตลอดการทดลองเพราะตัวเก็บประจุแต่ละตัวที่ทําาขึ้นมา มี ความค่าจุไฟฟ้าต่างกัน
3. ผู้ท่ีนําาไปศึกษาต่อควรออกแบบเซนเซอร์ให้มีความแข็งแรงและคงทนเพื่อง่ายและสะดวก ต่อการทดลอง
4. ผู้ที่ศึกษาต่อควรศึกษาและพัฒนาเซนเซอร์วัดค่าความจุไฟฟ้าแบบแผ่นคู่ขนาน โดย ใช้อะลูมิเนียม เพื่อให้สามารถอ่านค่าได้แม่นยําาและได้ช่วงความเข้มข้นเพ่ิมข้ึน
  หมายเหตุ : รายละเอียดของโครงงานทั้งหมดและบรรณานุกรม ขออนุญาตไม่กล่าวถึง ณ ท่ีนี้
ท่านสามารถค้นหาได้ท่ีห้องสมุดของ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม
ที่มาโครงการฯ
ช่ือเร่ือง ผู้วิจัย
อาจารย์ที่ปรึกษา ปริญญา มหาวิทยาลัย
ตัวตรวจสอบความเข้มข้นน้ําากะทิ นางสาวชฎาพร วงษ์ศรี
นายณัฐพล แกล้วกล้า
ศาสตราจารย์ ดร.วรวัฒน์ เสงี่ยมวิบูล วศ.บ. สาขาวิชา วิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีท่ีพิมพ์ 2563
   ผู้เรียบเรียง
บทความนี้ได้มีการปรับเนื้อหาข้อมูลและ ภาพประกอบให้พอดีกับคอลัมน์
โดย... อ.เตชทัต บูรณะอัศวกุล
  ISSUE1•VOLUME28 38 MAY-JULY2021
               













































































   36   37   38   39   40