Page 63 - TEMCA MAGAZINE ฉบับที่ 1 ปีที่ 28
P. 63

                                   เ รื่ อ ง พิ เ ศ ษ
 รศ.ถาวร อมตกิตติ์
 การวัดและแก้ปัญหา
ฮาร์มอนิก
   ก า ร ว ดั ฮ า ร ม์ อ น กิ อ ย า่ ง ถ กู ต อ้ ง ช ว่ ย ใ ห น้ าํา ม า ใ ช ้ ใ น ก า ร ว เิ ค ร า ะ ห แ์ ล ะ แ ก ป้ ญั ห า ค ณุ ภ า พ ไฟฟ้า เพื่อทําาให้ระบบไฟฟ้ามีความเชื่อถือได้มากขึ้น
 ระบบไฟฟ้าท่มี ีฮาร์มอนิกทําาให้เกิดความ ผิดเพี้ยนของรูปคลื่นไฟฟ้า ซึ่งส่งผลให้การ ใช้งานประสบปัญหาเป็นอย่างมาก
ระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้าที่เชื่อถือได้ควรมี การวัดฮาร์มอนิกของกระแสไฟฟ้าและแรงดัน ไฟฟ้าดังนี้
1. เฝา้ ตรวจคา่ ฮารม์ อนกิ ทม่ี อี ยโู่ ดยพจิ ารณา จากระดับที่แนะนําาหรือยอมรับได้
2. อุปกรณ์ทดสอบท่ีทําาให้เกิดฮาร์มอนิก
3. วินิจฉัยและตรวจซ่อมเม่ืออุปกรณ์มี สมรรถนะทร่ี บั การไฟฟา้ ฯ หรอื ผใู้ ชย้ อมรบั ไมไ่ ด้ 4. สังเกตุระดับความเป็นมาและแนวโน้ม ฮาร์มอนิกของแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า
(รายวัน, รายเดือน, และรายฤดูกาล)
5. วัดเพื่อพิสูจน์ข้อมูลจําาลองโหลดท่ีมี
ฮาร์มอนิก
6.วดั กระแสฮารม์ อนกิ และแรงดนั ฮารม์ อนกิ
ตามมุมเฟสที่เก่ียวข้อง
เทคนคิ ทใ่ี ชใ้ นการวดั ฮารม์ อนกิ แตกตา่ งจาก
การวัดระบบไฟฟ้าทั่วไป ซึ่งแบนด์วิดท์ความถี่ ไฟฟ้าในการวัดทั่วไปของแรงดันไฟฟ้า, กระแส
ไฟฟ้า และกําาลังไฟฟ้าทําาได้ท่ีความถ่ีแคบและ ใกล้ความถ่ีในระบบจําาหน่าย แต่แบนด์วิดท์ใน การวัดฮาร์มอนิกจะกว้างกว่า (ถึง 3 kHz)
อุปกรณ์พื้นฐานท่ีใช้วิเคราะห์
อุปกรณ์พ้ืนฐานท่ีใช้วิเคราะห์แรงดันไฟฟ้า และกระแสไฟฟา้ ทไ่ี มเ่ ปน็ ไซนซู อยดห์ รอื มคี วาม ผิดเพี้ยนมีดังนี้
1. ออสซโิ ลสโคป : การแสดงผลเปน็ รปู คลน่ื ด้วยออสซิโลสโคปตามรูปที่ 1 ให้ข้อมูลความ รุนแรงและชนิดของความผิดเพี้ยนได้โดยมี คณุ ภาพระดบั ปานกลาง ซง่ึ บางครง้ั ทาํา ใหท้ ราบ
 รููปที่่ 1 ออสซิิโลสโคป
ISSUE1•VOLUME28
MAY-JULY2021 63
ถึงเรโซแนนซ์ได้จากสภาพผิดเพี้ยนในรูปคล่ืน กระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้า
2.เครื่องวิเคราะห์สเปกตรัม : เครื่องมือนี้ ดังตัวอย่างในรูปท่ี 2 แสดงผลการกระจาย สญัญาณไฟฟา้ตามความถไ่ีฟฟา้โดยการสแกน ความถ่ีไฟฟ้าในพิสัยท่ีระบุและแสดงสัญญาณ ที่ถูกวิเคราะห์ของฮาร์มอนิกและส่วนประกอบ โดยมีการแสดงผลบนจอภาพหรือกระดาษ
      
รููปที่่ 2 เครู่องวิิเครูาะห์์สเปกตรูัม
3. เครื่องวิเคราะห์ฮาร์มอนิกหรือเครื่อง วิเคราะห์คลื่น : เครื่องมือน้ีดังตัวอย่างในรูปท่ี 3 วัดขนาดในคาบเวลาต่างๆ ซ่ึงอาจรวมถึง มุมเฟสด้วย โดยเป็นสเปกตรัมของสัญญาณท่ี
                





































































   61   62   63   64   65