Page 64 - TEMCA MAGAZINE ฉบับที่ 1 ปีที่ 28
P. 64

                                    เ รื่ อ ง พิ เ ศ ษ
     สงั เกตุ ซง่ึ ขอ้ มลู ทไ่ี ดส้ ามารถบนั ทกึ ไวห้ รอื แสดง ด้วยมิเตอร์แอนะลอกหรือดิจิทัลก็ได้
 รููปที่่ 3 เครู่องวิิเครูาะห์์ฮารู์มอนิิกห์รู่อเครู่อง วิิเครูาะห์์ คล่นิ
4. เครอ่ื งวเิ คราะหค์ วามผดิ เพย้ี น : เครอ่ื งมอื น้ีดังตัวอย่างในรูปที่ 4 แสดงความผิดเพ้ียน ของฮาร์มอนิกรวม (THD) โดยตรงได้
 รููปที่่ 4 เครู่องวิิเครูาะห์์ควิามผิิดเพ้ยนิ
5. อปุ กรณว์ ดั ฮารม์ อนกิ แบบดจิ ทิ ลั :เครอ่ื งมอื นี้ดังตัวอย่างในรูปที่ 5 ใช้เทคนิคพ้ืนฐาน สองประการในการวิเคราะห์คือ
• ใช้ตัวกรองแบบดิจิทัล : วิธีนี้เหมือนการ กรองแบบแอนะลอกโดยเครอ่ืงวเิคราะหส์ญัญาณ ดิจิทัลแบบช่องสัญญาณคู่โดยมีการกรองแบบ ดิจิทัล ซึ่งในการวัดจะปรับตั้งตัวกรองแบบ ดิจิทัลในช่วงความถ่ีท่ีวัด
•ใชก้ารเปลย่ีนฟรูเิยรแ์บบเรว็(Fastfourier transform) : เป็นการวิเคราะห์สเปกตรัมแบบ วิธีเวลาจริงท่ีรวดเร็วมากโดยใช้คอมพิวเตอร์ และการเปลี่ยนแอนะลอก-ดิจิทัลหลายช่อง สัญญาณ
ตารางที่ 1 ตัวอย่างสเปคตรัมฮาร์มอนิก ของกระแสไฟฟ้า
   ความถี่ (Hz)
 ขนาด (A)
 50
  305
  150
  10.3
 350
 42.2
 450
  2.0
  550
  21.7
 650
 9.5
 850
 9.2
 950
  4.6
     
รููปที่่ 5 อุปกรูณ์์วิัดฮารู์มอนิิกแบบดิจิิที่ัล
การตอบสนองของเคร่ืองมือวัด
การวัดฮาร์มอนิกได้อย่างเที่ยงตรงต้อง สอดคล้องกับข้อกําาหนดท่ีสําาคัญต่อไปนี้
1.ความเที่ยงตรง : เคร่ืองมือวัดต้องวัด ส่วนประกอบฮาร์มอนิกภาวะเสถียรโดยมีความ คลาดเคลื่อนอยู่ในขอบเขตท่ียอมได้ ซ่ึงส่วน ใหญ่ไม่เกิน 5% ของขอบเขตท่ียอมได้ เช่น ระบบสามเฟส 400V ควรมีฮาร์มอนิกที่ 11 น้อยกว่า 0.70% ซึ่งฮาร์มอนิกที่ 11 ของไลน์ กับนิวทรัล (V11) จะน้อยกว่า 1.62V แสดงว่า เครื่องมือวัดควรมีความเที่ยงตรงดีกว่า +(0.05) (1.62) = +0.081V
2. สมรรถนะ : สมรรถนะของเคร่ืองมือวัด คือความสามารถในการแยกฮาร์มอนิกท่ี ความถ่ีต่างๆ
3. ความเร็ว (Snapshot) : ถ้าฮาร์มอนิกท่ี วดั เปลย่ี นแปลงตามเวลาจะทาํา ใหม้ กี ารกระเพอ่ื ม อย่างรวดเร็วในคาบเวลาน้ัน ซึ่งต้องใช้ตัว ประกอบสําาคัญสองชนิดคือการตอบสนอง ไดนามิกและแบนด์วิดท์
การแสดงข้อมูลฮาร์มอนิก
ตัวอย่างข้อมูลฮาร์มอนิกที่วัดแสดงเป็นรูป แบบสเปกตรัมฮาร์มอนิกได้ในตารางที่ 1 หรือ เป็นรูปแบบกราฟก็ได้

รููปที่่ 6 ภาพจิากเครู่องวิิเครูาะห์์สเปกตรูัมแบบโดเมนิ เวิลา
    ตัวอย่างการแสดงผลสเปกตรัมแสดงในรูป ที่ 7 โดยมีสเกลแบบเชิงเส้น ส่วนสเกลแบบ ลอการิทึมใช้กับฮาร์มอนิกท่ีความผิดเพ้ียนต่ําา กว่า 5% ซ่ึงอ่านได้ง่ายกว่า
   ตวั อยา่ งความเปน็ ไปไดข้ องการเกดิ ฮารม์ อนกิ ตัวอย่างข้อมูลด้านออกจากเคร่อืงวิเคราะห์ที่มีความผิดเพี้ยนรวมของฮาร์มอนิกในแรงดัน ฮาร์มอนิกแสดงในรูปที่ 6 ไฟฟา้ แสดงในรปู ท่ี 8 ซง่ึ เปน็ กราฟแทง่ ทค่ี วามสงู
ISSUE1•VOLUME28 64 MAY-JULY2021

รููปที่่ 7 ภาพจิากเครู่องวิิเครูาะห์์สเปกตรูัมแบบโดเมนิ ควิามถี่่
               























































   62   63   64   65   66